นามผู้สร้าง

นายสงกรานต์ จีนเท่ห์ นางสุดารัตน์ จีนเท่ห์

นายคำรณ จีนเท่ห์ นางสำเภา จีนเท่ห์

นายเตี้ยม จีนเท่ห์ นางสำเนียง จีนเท่ห์

นายหมา ม่วงสถาน นางปลั่ง ม่วงสถาน

นายใจเทพ จีนเท่ห์

พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน

ข้าพเจ้าตั้งจิตอุทิศผล บุญกุศลนี้ไปให้ไพศาล

ถึงมารดาบิดาและอาจารย์ ทั้งลูกหลานญาติมิตรสนิทกัน

คนเคยร่วมทำงานการทั้งหลาย มีส่วนได้ในกุศลผลของฉัน

ทั้งเจ้ากรรมนายเวรและเทวัญ ขอให้ท่านได้กุศลผลบุญนี้ เทอญ

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

พระคาถาชินบัญชร

พระคาถาอาการะวัตตาสูตร

คาถาเจ้าแม่กวนอิม

พระพระคาถาศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ

อานิสงส์ของการแจกหนังสือธรรมะเป็นทาน

กรรมเวรจากอดีตชาติจะได้ลบล้าง

หนี้เวรจะได้คลี่คลายพ้นภัยจากทะเลทุกข์

โรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวรจะพ้นไป

กิจการงานจะราบรื่นสมความปรารถนา

บารมีคุ้มครองลูกหลานให้อยู่เย็นเป็นสุข

ลูกหลานที่ดื้อรั้นก็จะกลายเป็นคนดี

พ่อแม่จะมีสุขภาพแข็งแรงและอายุยืนนาน

วิญญาณของผู้ที่เราเคารพและรักจะได้ไปสู่สุคติ

คำบูชาพระ

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ

อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ

อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ

คำบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา

พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ(กราบ)

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

ธัมมัง นะมัสสามิ(กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

สังฆัง นะมามิ(กราบ)

คำอาราธนาศีล ๕

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ

ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ

ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ

ติสะระเณนะสะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ

คำสมาทานศีล

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ศีล ๕

ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

อทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

คำอาราธนาพระปริตร

วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะมังคะลัง

วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะมังคะลัง

วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา

สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตัง พรูถะมังคะลัง

คำอาราธนาธรรม

พรัหมา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ,

กัตอัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ,

สันตีถะ สัตตาปปะระชัก ขะชาติกา,

เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมปิมัง ปะชัง

 

บทสวดถวายพรพระ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ

วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู

อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา

เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก

ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย

อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง

ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

บทสวดชัยมงคลคาถา

พาหุงสะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง

ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง

ทานาทิธัมมะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง

โฆรัมปะนา ฬะวะกะมัก ขะมะถัทธะยักขัง

ขันตีสุทันตะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง

ทาวัคคิ จักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง

เมตตัมพุเสกะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง

ธาวันติโยชะนะปะถัง คุลิมาละวันตัง

อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา

จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ

สันเตนะ โสมะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง

วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง

ปัญญาปะที ปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง

ปุตเตนะ เภระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต

อิทธูปะ เทสะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง

พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง

ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท

ตันเตชะสา ภะวะตุ เม ชะยะมังคะลานิ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย

วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที

หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ

โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ

บทสวดมหากา

มะหาการุณีโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง

ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน

เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล

อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวีโปกขะเร

อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต

ปะโมทะติ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง

สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต

จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ ปะทักขิณัง

กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง

ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต

ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ

ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา

สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เม

อนุโมทนาวิธี

ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง

เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ

อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ

สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโทร ปัณณะระโส ยะถา

มะณิ โชติระโส ยะถา

สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ

มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ

สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ

มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ

สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ

มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ

อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน

จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุวัณโณ สุขัง พะลัง

ชุมนุมเทวดา

สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง

ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ

เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา

ปะริตตัง ภะณันตุ

สัคเค กาเม จะรูเป คิริสิขะระตะเฏ

จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ

คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ

วัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา

ชะละถะละ วิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา

ติฏฐันตา สันติเกยัง มุนิวะระวะ จะนัง

สาธะโว เม สุณันตุ

ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา

ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา

ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา

โองการเทพชุมนุม

สาธุ อุกาสะ ข้าพเจ้าขอนมัสการ พระพุทธะคุณณัง

พระธัมมะคุณณัง พระสังฆะคุณณัง พระศรีรัตนตรัย

และสมณาจารย์ ครูอาจารย์ เดชะบรมโพธิสมภารมาอยู่

เหนือเกศเกล้าแห่งข้าพเจ้า ผู้จะตั้งนมัสการ

เชิญพระพุทธองค์ ทรงพระสูตร พระวินัย

พระอภิธรรม พระกัมมัฏฐาน พระธัมมามูล

ทั้งแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ จนทั้งพระไตรปิฎก

กัณฑ์ไตร พระเตมียน์ใบ้ พระมหาชนก

พระมโหสถ พระโพธิสัตย์ พระพุทธสิหิง

พระอินทร์ พระพรหม พระยม พระกาฬ

พระจตุโลกบาล พระโมกคัลลาณญาณ

พระสารีบุตร พระพุทธกุ กุกสันโธ

พระโกนาคุมะโน พระพุทธกัสสโป พุทโธ

พระศรีสากะยะมุนีโคดม พระพุทธบรรทม

พระนารอด ยอดพระตัณหัง

อัฏฐะอรหันตัง พระสุวรรณสามปัณฑิตา

พระแท่นศิลาอาสน์ พระมุนีนาถ

พระศาสดา พระยาธรรมิกราช

พระศรีอารินไมตรี พระฤาษีทั้งแปดหมื่นพระองค์

อันนั่งจมกรมภาวนาอยู่ในถ้ำพระคูหาสวรรค์

พระอาทิตย์ พระจันทร์ พระไตรสรรณคมน์

พระบรรทม พระโกณทัญญาณาณสุวรรณเสน

พระสุเมรุราช พระธาตุจุฬามณี

พระศรีมหาโพธิ พระหัตถ์ พระโอษฐ

พระหฤทัย พระไตรปิฎก พระปัจเจกโพธิ์

ท้าวสิริสุทโทธนะ พระนางสิริมหามายาอันเป็น

พระพุทธมารดาแห่งพระพุทธองค์

อันทรงพระนามกรชื่อพระสิทธารถชาติ

เป็นที่สุด พระพุธ พระพฤหัส พระสัชชนู

พระเสาร์ พระราหู พระสมุทรทั้งห้า

ทั้งแผ่นฟ้า ทั้งพสุธาชล ทั้งปลาอานนท์

นางเมขลา พระยาพาลีทรพี อินทรชิต

สุครีพ ทศกัณฑ์ กุมภัณฑ์ พระลักษณ์

พระราม พระหนุมาณ พระรามสูร

พระวิฑูรบูริกา สุนันทยักษา พระยานาค

พระยาครุฑ พระราหู พิเภก ชมภูทีเปหิมะอันตัง

พระพุทธเทวดาอยู่ในชั้นฟ้า จตุมหาราชิกาสวรรค์

เทพยดาอยู่ในชั้นฟ้าดาวดึงสวรรค์

เทพยดาอยู่ในชั้นฟ้ายามาสวรรค์

เทพยดาอยู่ในชั้นฟ้าดุสิตาสวรรค์

เทพยดาอยู่ในชั้นฟ้านิมมานรดีสวรรค์

เทพยดาอยู่ในชั้นฟ้าปรนิมมิตวสวัดดีสวรรค์

เทพยดาอยู่ในชั้นฟ้าอกนิฏฐโลกมหาสวรรค์

พระตัณหัง พระพุทธวิปัสสี ปิตุมารดา วาสุกรี

มังกร ครุฑ กินนร กินรี การเวก ปักษา

มหากุมภัณฑ์อนันทยักษา มหากะบิลราช

พระโคอุสุภราช พระสารีริกธาตุ

พระเพลิงอันรุ่งเรืองรัศมี

พระศรีรัตนตรัยแก้วและสมณาจารย์

ทั้งพระรัตนญาณ พระบารมีตาวติงสาตีสูน

นะโมพุทธายะ ธัมโมพุทธายะ สังโฆพุทธายะ

ธัมมะปัชชา จะวันทะนา เมตตาติ

 

 

พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา

อะระหันตังสะระณังคัจฉามิ อะระหันตังสิระสา นะมามิ

สัมมาสัมพุทธังสะระณังคัจฉามิ สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ

วิชชาจะระณะ สัมปันนังสะระณังคัจฉามิ

วิชชาจะระณะ สัมปันนัง สิระสา นะมามิ

สุคะตังสะระณัง คัจฉามิ สุคะตัง สิระสา นะมามิ

โลกะวิทังสะระณัง คัจฉามิ โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ

อิติปิโส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา สัตถาเทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา

อะนุตตะรังสะระณังคัจฉามิ

อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ

ปุริสะธัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ

ปุริสะธัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ

สัตถาเทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ

สัตถาเทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

พุทธัง สิระสา นะมามิ

อิติปิโส ภะคะวา รูปักขันโธ

อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา เวทะนาขันโธ

อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา สัญญาขันโธ

อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา สังขาระขันโธ

อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ

อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

อิติปิโส ภะคะวา ปะฐะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา

ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา

ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา

ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา

ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อากาสะจักกาวาฬะ จาตุมะหาราชิกา

ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา ยามา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา รูปะวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา ปะถะมะฌานะ ธาตุสัมมา ทิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสัมมา ทิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสัมมา ทิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสัมมา ทิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุสัมมา ทิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ เนวะสัญญา

นาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญา

นาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญา

นาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา โสตาปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา สักกิทาคาปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อะนาคาปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อะระหัตตะปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะปฏิผะละ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา สักกิทาคาอะระหัตตะปฏิผะละ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

อิติปิโส ภะคะวา อะนาคามิอะระหัตตะปฏิผะละ ธาตุสัมมาธิยานะสัมปันโน

กุสะลา ธัมมา อิติปิโส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง

พุทธังสะระณังคัจฉามิ ชัมภูทิปัญญาจะ อิสสะโร

กุสะลา ธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ

ปัญจะพุทธานะมามิหัง อาปามะจุปะ ทีมะสังอังขุ

สังวิธาปุกะยะปะอุปะสะชะ สุเหปาสายะ โสโส

สะสะอะอะอะอะนิ เตชะสุเนมะภูจะนาวิเวอะสัง

วิสุโรปุสะภุพะ อิสะวาสุสุสะวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ

อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง อะอายาวะชีวัง

พุทธังสะระณังคัจฉามิ สาโพธิปัญจะอิสสะโร ธัมมา

กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติสัมมา สัมพุทโธ

สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธังสะระณัง คัจฉามิ

จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา

อิติวิชชาจะระณะ สัมปันโน อุอุยาวะชีวัง

พุทธังสะระณังคัจฉามิ ตาวะติงสา

อิสสะโร กุสะลา ธัมมา

นันทะปัญจะสุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอยาวะชีวัง

พุทธังสะระณังคัจฉามิ ยามาอิสสะโร

กุสะลา ธัมมา พรหมมาสัทธะ ปัญจะสัตตะ

สัตตาปาระมี อะนุตตะโรยะมะกะขะ

ยาวะชีวัง พุทธังสะระณังคัจฉามิ

ตุสิตาอิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุยะปะกะ

ปุริสะธัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง

พุทธังสะระณัง คัจฉามิ

นิมมานะระติ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา

เหตุโปวะ สัตถาเทวะมะนุสสานัง

ตะถะ ยาวะชีวัง พุทธังสะระณัง คัจฉามิ

ปาระนิมมิตตะอิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ

ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ

ยาวะชีวัง พุทธังสะระณัง คัจฉามิ

พรหมมาอิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัจจิ ปัจจะยา

วินะปัญจะ ภะคะวะตายาวะนิพพานัง

สะระณัง คัจาฉามิ

นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ

พุทธิลา โลกะลากะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ

สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ

วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ

อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ

หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

อินทะสาวัง มหาอินทะสาวัง

พรหมมะสาวัง มหาพรหมมะสาวัง

จักกะวัติสาวัง มหาจักกะวัตติสาวัง

เทวาสาวัง มหาเทวาสาวัง

อิสิสาวัง มหาอิสิสาวัง

มุนีสาวัง มหามุนีสาวัง

สัปปุริสะสาวัง มหาสัปปุริสะสาวัง

พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง

สัพพะสิทธิ วิชาธะรานังสาวัง

สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง

เอเตนะสัจเจนะสุวัตถิ โหตุ

สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชังวิริยังสิทธิกัมมัง

นิพพานัง โมกขังคุย หะกัง ฐานังสีลัง

ปัญญานิกขัง ปุญญังภะคะยัง ตัปปัง สุขัง

สิริรูปัง จะตุวิสสะติเสนัง เอเตนะ สัจเจนะ

สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สวาหายะ

นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ

ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทนาขันโธ

สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ

นะโม อิติปิโส ภะคะวา

นะโมพุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

รูปะขันโธ เวทนาขันโธ สัญญาขันโธ

สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ

นะโมสวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

นะโมธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

รูปะขันโธ เวทนาขันโธ สัญญาขันโธ

สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ

นะโมสวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

นะโมธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

รูปะขันโธ เวทนาขันโธ สัญญาขันโธ

สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ

นะโมสุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

นะโมสังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

รูปะขันโธ เวทนาขันโธ สัญญาขันโธ

สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ

นะโมสุปะฏิปันโน ภะคะวะโต

สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง

นะโมพุทธายะ มะอะอุ

ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

ยาวะตัสสะ หาโย นะโม อุอะมะ

ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

อุอะมะ อาวันทา นะโมพุทธายะ

นะอะกะตินิสะระนะ อาระปะขุธัง

มะอะอุทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

พระคาถาชินบัญชร

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง

อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตัง สุตตะวา

อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ

มรณังสุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะ

ชะยา สะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง

สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ

นะราสะภา

ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา

สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา

สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโล

จะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร

สัพพะคุณากะโร

หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ

โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก

ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ

ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง

วามโสตะเก

เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร

นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนิ ปุงคะโว

กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก

โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร

ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปาลี นันทะสีวะลี

เถรา ปัญจะอิเมชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะ

เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา

เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา

ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา

ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุต ตะกัง

ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง

อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

ชินา นานา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลัง กะตา

วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา

อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา

วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร

ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล

สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสา สะภา

อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ

ชิตูปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ

สังฆานุ ภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุ

ภาวะปาลิโต จะ รามิชินะปัญชะเรติ

 

 

 

บทสวดนมัสการพระคาถาชินบัญชร

ข้าฯ ขอเชิญเสด็จ พระสรรเพชญ พุทธองค์

นราสภาทรง พิชิตมาร และเสนา

ยี่สิบแปดพระองค์ นายกสงฆ์ทรงสมญา

ตัณหังกรเป็นต้นมา ทรงดื่มแล้ว ซึ่งรสธรรม

จตุสัจอันประเสริฐ ทรงคุณเลิศ ดิลกล้ำ

ยอดบุญ พระคุณนำ ยิ่งเทพไท ไตรวิชชา

โปรดรับ ประทับทรง ณ ที่ตรง กระหม่อมข้า

พระพุทธเจ้าสา- ธุประฌม บังคมเชิญ

ขอให้พระพุทธะ สักกยะ พระจำเริญ

ประทับบนเศียรเทอญ ปราชญ์สรรเสริฐพระบารมี

ขอให้พระธรรมะ อริยะวิสุทธิ์ศรี

ประทับจักขุนทรีย์ ให้ข้ามีปัญญาญาณ

ขอให้พระสังฆะ วิสุทธะคุณาจารย์

สถิตประดิษฐาน อุระข้า อย่ารู้ไกล

ให้พระอนุรุทธิ์ บริสุทธิ์ อยู่หทัย

พระสารีบุตรไพ- โรจนัย ณ เบื้องขวา

เบื้องหลังพระโกณทัญ- ญะสถิต จิตตสา

เบื้องซ้ายพระโมคคัลลา- นะสถิต สถาพร

หูขวา พระอานนท์ ประชุมชน ประณมกร

พระราหุล อุดมพร สถิตร่วม จรัญญา

หูซ้ายพระกัสสป นิราศภพ กิตติมา

คู่กับพระมหา- นามสถิตย์ ประดิษฐาน

พระพุทธะโสภิต ผู้เรืองฤทธิ์ อุดมญาณ

จอมมุนี วีระหาญ ไตรวิชชา ประภากร

ดุจดวง พระอาทิตย์ แร่งร้อยฤทธิ์ พันแสงศร

สถิตเกศ อุดมกร ปัญฉิมภาค พิบูลพรรณ

พระกุมาระกัสสป ผู้เจนจบ วจีสัณห์

บ่อคุณคุณานันท์ สถิตโอษฐ์ อลังการ

ขอให้พระปุณณะ เถระพระอังคุลิมาล

พระอุบาลีศานต์ พระนันทะ พระสีวลี

บรรจบเป็นเบญจะ พระเถระ ผู้เรืองศรี

สถิตอยู่นลาตมี เสน่ห์ดี ไมตรีตาม

แปดสิบ พระสาวก มนต์สาธก ผู้เรืองนาม

เรืองเดช ทุกโมงยาม ด้วยลีลา ธิคุณคง

สถิตทั่วทุกส่วนกาย ทั้งน้อยใหญ่ประทับทรง

เป็นคุณจำเริญมง คลเลิศประเสริฐศรี

ขอเชิญพระปริตร อันศักดิ์สิทธิ์ในแดนตรี่

เมตตาและปรานี บริรักษ์ นิราศภัย

เบื้องหน้ารัตนสูตร ธรรมาวุธ อันเกรียงไกร

ทักษิณ อันฤาชัย เมตตสูตร พระพุทธมนต์

ปัจฉิม ธชัคคสูตร พุทธาวุธ วิเศษล้น

บุดรมหามนต์ อังคุลิมา ละสูตรเสริม

ขันธโมพระปริตร ดังจักรกฤช ประสิทธิ์เฉลิม

อาฏานาฎสูตรเติม พระขรรค์เพ็ชรเผด็จมาร

เพดารกั้นมารอากาศ ให้ปลาส เกษมศาสตร์

อีกให้เป็นปราการ กำแพงแก้วกำขัตภัย

กำแพงแก้วเจ็ดชั้น ดำรงมั่น เดโชชัย

พระชินราช ประสาทให้ เป็นเกาะใหญ่ คุ้มครองตน

ด้วยเดช พระชินศรี เรืองฤทธิ์ มากเหลือล้น

กำจัดภัย ทุกแห่งหน ทั้งวิบัติ อุปัททวา

ทั้งภายนอกและภายใน เกิดเป็นภัย ไม่นำพา

เพียงลมร้าย พัดไปมา ไม่บีฑา อย่าอาวรณ์

เมื่อข้า สวดพระสูตร พระสัมพุทธบัญชร

สูงสุด พุทธพร ในพื้นเมธนีดล

กลางชินนะบัญชร คุณากร กิตติพล

หวังใดให้เป็นผล จากกุศลสาธยาย

ขอมวลมหาบุรุษ หน่อพระพุทธฤาสาย

รักษา ข้าอย่าคลาย ตลอดกาล นิรันดร

อีกเวทมนต์ ดลคาถา ที่มวลข้า ประฌมกร

เล่าเรียน เพียรว่าวอน อนุสรณ์ ตลอดมา

เป็นคุณ คุ้มครองดี อย่าให้มี ซึ่งโรคา

เป็นคุณ ช่วยรักษา สรรพภัย ไม่แผ้วพาน

อานุภาพ พระชินะ อุปัทวะ อย่ารู้หาญ

ห่างไกร ไม่ระราน ประสบงาน สวัสดี

อานุภาพ พระธรรมมะ ให้ชำนะ ความอัปรีย์

ห่างไกล คนใจผี กาลกิณี ไม่กล้ำกราย

อานุภาพ พระสังฆะ ให้ชำนะ อันตราย

ไม่เห็น คนใจร้าย ไม่มั่นหมาย มาราวี

อานุภาพ พระสัทธรรม ทุกเช้าค่ำ รักษาศรี

จำรัส จำเริญดี ร่มพระศรี ชินบัญชรฯ

ธรรมจักร์

ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

พรัหมะ กายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

พรัหมะ กายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

พรัหมะ ปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

พรัหมะ ปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

พรัหมะ ปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

พรัหมะ ปุโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

มะหาพรหมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

มะหาพรหมมานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อสัญญสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

อสัญญสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตตะวา

อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

เอตัม ภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย

อนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติ ยัง

สะมะเณนะวา พรหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา

พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมันติ

พระคาถาป้องกันภัยสิบทิศ

บูระพารัสมิง พระพุทธะคุณัง

บูระพารัสมิง พระธัมเมตัง

บูระพารัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

อาคะเนยรัสมิง พระพุทธะคุณัง

อาคะเนยรัสมิง พระธัมเมตัง

อาคะเนยรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

ทักษิณรัสมิง พระพุทธะคุณัง

ทักษิณรัสมิง พระธัมเมตัง

ทักษิณรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

หรดีรัสมิง พระพุทธะคุณัง

หรดีรัสมิง พระธัมเมตัง

หรดีรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

ปัจจิมรัสมิง พระพุทธะคุณัง

ปัจจิมรัสมิง พระธัมเมตัง

ปัจจิมรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

พายัพรัสมิง พระพุทธะคุณัง

พายัพรัสมิง พระธัมเมตัง

พายัพรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

อุดรรัสมิง พระพุทธะคุณัง

อุดรรัสมิง พระธัมเมตัง

อุดรรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

อิสานรัสมิง พระพุทธะคุณัง

อิสานรัสมิง พระธัมเมตัง

อิสานรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

อากาศรัสมิง พระพุทธะคุณัง

อากาศรัสมิง พระธัมเมตัง

อากาศรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

ปฐวีรัสมิง พระพุทธะคุณัง

ปฐวีรัสมิง พระธัมเมตัง

ปฐวีรัสมิง พระสังฆานัง

ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข์ สัพพะโศก

สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร

วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม

รักขันตุ สุรักขันตุ

พระคาถาอาการะวัตตาสูตร

(ตั้ง นะโม ๓ จบ)

เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห

วิหะระติ คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ

สัพพะสัตตานัง พุทธะคุโณ ธัมมะคุโณ สังฆะคุโณ

อายัสมา อานันโท อะนุรุทโธ สารีปุตโต โมคคัลลาโน

มะหิทธิโก มะหานุภาเวนะ สัตตานัง เอตะทะโวจะ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง

อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ

อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต

อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู

อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ

อิติปิโส ภะคะวา สัตาถาเทวะ มะนุสสานัง

อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ

อิติปิ โส ภะคะวา ภะคะวาติ

พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม

อิติปิ โส ภะคะวา อะภินิหาระปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะนิธานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา มะหากะรุณาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะโยคะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ยุติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ชิตติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะโอกกันติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะฐิติปาระมิสัมปันโน

อะภินิหาระวัคโค ทุติโย

อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะวุฏฐานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะมะละ วิระหิตะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อุตตะมะติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คะติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อภิรูปะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สุวัณณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา มหาสิริปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อาโรหะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะริณาหะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สุนิฏฐะปาระมิสัมปันโน

คัพภะ วุฏฐานะวัคโค ตะติโย

อิติปิ โส ภะคะวา อะภิสัมโพธิปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สีละขันธะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สะมาธิขันธะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาขันธะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ทะวัตติงสะมะหาปุริ สะลักะณะปาระมิสัมปันโน

อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุตโถ

อิติปิ โส ภะคะวา มะหาปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปุถุปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา หาสะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ชะวะนะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ติกขะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะจักขุปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระปาระมิสัมปันโน

มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม

อิติปิ โส ภะคะวา ทานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สีละปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา เนกขัมมะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วิริยะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ขันติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สัจจะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะธิฏฐานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา เมตตาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อุเปกขาปาระมิสัมปันโน

ปาระมิวัคโคฉัฏโฐ

อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะอุปะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะปะระมัตถะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สะมะติงสะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะภิญญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สะติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สะมาธิปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วิมุตติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วิมุตติญาณะปาระมิสัมปันโน

ทะสะปาระมิวัคโค สัตตะโม

อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะวิปัสสะนาวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา มะโน มะยิทธิวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อิทธิวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะระจิตตะวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะระจิตตะวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จะระณะวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระธัมมะวิชชาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระปาระมิสัมปันโน

วิชชาวัคโค อัฏฐะโม

อิติปิ โส ภะคะวา ปะริญญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะหานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สัจฉิกิริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ภาวะนาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะริญญาปะหานะสัจฉิกิริยาภาวะนาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณะปาระมิสัมปันโน

ปะริญญาณะวัคโค นะวะโม

อิติปิ โส ภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สะติปัฏฐานะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สัมมัปปะธานะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อิทธิปาทะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อินทรียะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พะละปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา โพชฌังคะปัญญาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา มะหาปุริสะสัจฉิกิริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละวิมุตติปาระมิสัมปันโน

โพธิปักขิยะวัคโค ทะสะโม

อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะพะละญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ฐานาฐานะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วิปากะ ญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา นานาธาตุญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สัตตานัง นานาทิมุตติกะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อินทรียะ ปะโรปะริ ยัตติปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา นิโรธวะวุฏฐานะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะปาระมิสัมปันโน

ทะสะพะละญาณะวัคโค เอกาทะสะโม

อิติปิ โส ภะคะวา โกฏิสะหัสสานัง ปะโกฏิ สะหัสสานัง

หัตถีนังพะละธะระปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะโกฏิ ทะสะสะหัสสานัง พะละธะระปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะจักขุ ญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สีละคุณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คุณะปาระมิสะมาปัตติปาระมิสัมปันโน

กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม

อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พะละปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พะละญานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะตุละยะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อุสสาหะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คะเวสีญาณะปาระมิสัมปันโน

ถามะพะละวัคโค เตระสะโม

อิติปิ โส ภะคะวา จะริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จะริยาญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ญาตัตถะจะริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ญาตัตถะนะริยาญานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะนะริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ติวิธะจะริยาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปาระมิอุปปาระมิปะระมัตถะปาระมิสัมปันโน

จริยาวัคโค จะตุททะสะโม

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ อะนิจจะลักขณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ ทุกขะ ลักขะณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ อะนัตตะลักขะณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อายะตะเนสุ ติลักขะณะ ญานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐาระสะธาตสุ ติลักขะณะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วิปะริณามะลักขะณะปาระมิสัมปันโน

ลักขะณะวัคโค ปัณณะระสะโม

อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะ ญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วุสิตะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา วุสิตะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สิกขาปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สิกขาญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สังวะระปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สังวะระญาณะปาระมิสัมปันโน

คะตัฎฐานะวัคโค โสฬะสะโมปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา พุทธปะเวณิญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จะตุพรัมมะวิหาระปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะนาวะระณะญานะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา อะปะริยันตะญาณะปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา สัพพัญญุตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน

อิติปิ โส ภะคะวา จะตุวีสะติโกฏสะตะวิชิระญาณะปาระมิสัมปันโน

ปะเวณิวัคโค สัตตะระสะโม

 

 

วิปัสสะนาภูมิปาฐะ

ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ

สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ

ทวาทะสายะตะนานิ

จักขวายะตะนัง รูปยะตะนัง

โสตายะตะนัง สัททายะตะนัง

ฆานายะตะนัง คันธายะตะนัง

ชิวหายะตะนัง ระสายะตะนัง

กายายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง

มะนายะตะนัง ธัมมายะตะนัง

อัฏฐาระสะ ธาตุโย

จักขุธาตุ รูปะธาตุ จักขุวิญญาณะธาตุ

โสตะธาตุ สัททะธาตุ โสตะวิญญาณะธาตุ

ฆานะธาตุ คันธะธาตุ ฆานะวิญญาณะธาตุ

ชิวหาธาตุ ระสะธาตุ ชิวหาวิญญาณะธาตุ

กายะธาตุ โผฏฐัพพะธาตุ กายะวิญญาณะธาตุ

มะโนธาตุ ธัมมะธาตุ มะโนวิญญาณะธาตุ

พาวีสะตินทริยานิ จักขุนทริยัง โสตินทริยัง

ฆานินทริยัง ชิวหินทริยัง กายินทริยัง มะนินทริยัง

อิตถินทริยัง ปุริสินทริยัง ชีวิตินทริยัง

สุขินทริยัง ทุกขินทริยัง โสมะนัสสินทริยัง

โทมะนัสสินทริยัง อุเปกขินทริยัง

สัทธินทริยัง วิริยินทริยัง สะตินทริยัง

สมาธินทริยัง ปัญญินทริยัง

อะนัญญะตัญญัสสามิตินทริยัง อัญญินทริยัง

อัญญาตาวินทริยัง

จัตตาริ อะริยะสัจจานิ

ทุกขัง อะริยะสัจจัง

ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง

ทุกขะนิโรธะคามินี

ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง

บทสวดคาถาพระแม่กวนอิม

นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง

กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผู่สัก (กราบ)

นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง

กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผู่สัก (กราบ)

นำโมไต๋ซื้อ ไต๋ปุย กิวโค่ว กิวหลั่ง

กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิม ผู่สัก (กราบ)

นำโมฮู๊ก นำโมหวบ นำโมเจ็ง

นำโมกิ้วโค่ว กิวหลั่ง กวงสี่อิมผู่สัก

ทั่งจี้โต โอม เกียล้อฮวดโต เกียล้อฮวดโต

เกียออฮวดโต ล้อเกียฮวดโต ล้อเกียฮวดโต

ซำผ่อออ เทียงล้อซิ้ง ตี่ล้อซิ้ง นั้งลี่หลั่ง

หลั่งลี่ซิง เจ็กเฉียก ใจเอียงห่วยอุ่ยติ๊ง นำโมม่อออปวกเยี่ยปอล้อบิ๊ก (กราบ)

 

 

 

คำไหว้บารมี ๓๐ ทัศ

๑ ทานะปาระมี สัมปันโน ทานะอุปะปาระมี สัมปันโน

ทานะปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

๒ สีละปาระมี สัมปันโน สีละอุปะปาระมี สัมปันโน

สีละปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๓ เนกขัมมะปาระมี สัมปันโน เนกขัมมะอุปะปาระมี สัมปันโน

เนกขัมมะปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๔ ปัญญาปาระมี สัมปันโน ปัญญาอุปะปาระมี สัมปันโน

ปัญญาปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๕ วิริยะปาระมี สัมปันโน วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน

วิริยะปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๖ ขันติปาระมี สัมปันโน ขันติอุปะปาระมี สัมปันโน

ขันติปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๗ สัจจะปาระมี สัมปันโน สัจจะอุปะปาระมี สัมปันโน

สัจจะปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๘ อธิษฐานะปาระมี สัมปันโน อธิษฐานะอุปะปาระมี สัมปันโน

อธิษฐานะปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๙ เมตตาปาระมี สัมปันโน เมตตาอุปะปาระมี สัมปันโน

เมตตาปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๑๐ อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อุเบกขาอุปะปาระมี สัมปันโน

อุเบกขาปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา
๑๑ ทะสะปาระมี สัมปันโน ทะสะอุปะปาระมี สัมปันโน

ทะสะปาระมัตถะปาระมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กรุณา

มุทิตา อุเบกขาปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

พัทธัง สะระณัง คัจฉามิ

ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ

สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหัง

 

 

คาถาบูชาดวงชาตา

นะโม เม สัพพะเทวานัง

สัพพะคะระหะ จะ เทวานัง

สุริยัญจะ ปะมุญจะถะ

สะสิ ภุมโม จะ เทวานัง

วุโธ ลาภัง ภะวิสสะติ

ชีโว สุกะโร จะ มะหาลาภัง

โสโร ราหูเกตุ จะ มะหาลาภัง

สัพพะ ภะยัง วินาสสันติ

สัพพะทุกขัง วินาสสันติ

สัพพะ โรคัง วินาสสันติ

ลักขะณา อะหัง วันทามิ สัพพะทา

สัพเพเทวา มัง ปาละยันตุ

สัพพะทา เอเตนะ มังคะละเตเชนะ

สัพพะโสตถี ภะวันตุ เม

คำอธิฐานอโหสิกรรม

ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม กรรมใดที่ทำแก่ผู้ใดในชาติใด ๆ ก็ตาม

ขอให้เจ้ากรรมและนายเวร จงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้า

อย่าได้จองเวรจองกรรมต่อไปเลย

แม้แต่กรรมที่ใคร ๆ ทำแก่ข้าพเจ้าก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม

ให้ทั้งสิ้น ยกถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทาน

เพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อไป ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้

ขอให้ข้าพเจ้า ครอบครัว บุตรหลาน ตลอดจนวงษาคณาญาติ

และผู้อุปการะคุณของข้าพเจ้า มีความสุข ความเจริญ

ปฏิบัติแต่สิ่งที่ดี และสิ่งที่ชอบด้วยเทอญฯ

 

กรวดน้ำ

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าได้สร้างและ

สวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ ขอให้ไปค้ำชูอุดหนุนบิดามารดา

ผู้มีพระคุณ และญาติกา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ และเจ้ากรรมนายเวร

พระมหากษัตริย์ และมิตรรักสนิท เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่

พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรุงพาลี นางพระธรณี นางพระคงคา

พระยายมราช นายนิริยะบาล ทั้งท้าวจัตุโลกะบาล

สิริพุทธอำมาตย์ ชั้นจาตุมะหาราชิกาเบื้องบน

จนถึงที่สุดพรหมมา เบื้องต่ำขึ้นมาจนถึงมนุษย์โลก

โดยรอบสุดขอบจักรวาล อนันตะจักรวาล คุณพระศรีรัตนตรัย

และเทพยดา ตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยมยักษ์ คนธรรพ์ นาคา

ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ ขอให้พ้นจากทุกข์

ท่านทั้งหลายที่ได้สุข ขอให้ได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป

ด้วยเดชะผลแห่งข้าอุทิศให้ไปนี้ จงเป็นอุปนิสัยปัจจัย

แก่พระนิพพานในปัจจุบันแลอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้น เทอญฯ

พุทธัง อนันตัง ธัมมังจักรวาละ สังฆัง นิพพานัง โหตุ

แผ่เมตตาให้ตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ, นิทุกโข โหมิ,

อะเวโร โหมิ, อัพยา ปัชโฌ โหมิ,

อะนีโฆ โหมิ, อะโรโค โหมิ,

สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ

ขอให้ตัวของเราเอง จงมีความสุข ปราศจากทุกข์

ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีความความเบียดเบียน

ไม่มีความเดือดร้อน ไม่มีความลำบาก

ปราศจากโรคภัย รักษาตนอยู่เถิด

 

บทแผ่ส่วนกุศล

อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า

ขอให้มารดา บิดาของข้าพเจ้า มีความสุข

อิทัง เม ญาตะกานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะกา

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า

ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า มีความสุข

อิทัง เม ครุปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ครุปัชฌายาจริยา

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ทั้งหลายของข้าพเจ้า

ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ทั้งหลายของข้าพเจ้า มีความสุข

อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง

ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวง มีความสุข

อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเปตา

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง

ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวง มีความสุข

อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย

ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย มีความสุข

อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพสัตตา

ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง

ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง มีความสุข

 

บทสวดมนต์ไหว้พระ เสี่ยงบารมี ตรวจน้ำ แผ่เมตตา

ก่อนทำสมาธิตามแบบ หลวงปู่พระครูเทพโลกอุดร

(ตั้งนะโม ๓ จบ)

ข้าพเจ้าขอกราบไหว้บูชาพระพุทโธ เป็นที่พึ่งที่ระลึกของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าขอกราบไหว้บูชาพระธัมโม เป็นที่พึ่งที่ระลึกของข้าพเจ้า

ข้าพเจ้าขอกราบไหว้บูชาพระสังโฆ เป็นที่พึ่งที่ระลึกของข้าพเจ้า

บูชาพระ

อุกาสะ อุกาสะ ดอกไม้ธูปเทียนชะวาลา รูปนาม และชีวิตน้อมไปด้วย

ความปฏิบัติ ทั้งภายในและภายนอก ขอบูชาแก่พระโพธิญาณ

พระพุทธัง พระธัมมัง พระสังฆัง ขอให้แม่พระธรณี

จงมาเป็นทิพญาณให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิดนะพระเจ้าข้า

นิพพานะปัจจะโยโหตุ

อาราธนาพระ

อุกาสะ อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขออุปจาระวิถี พระอัปปนาระวิถี

พระสมาธิโลกุตระ พระธรรมเจ้า

ข้าพเจ้าจะขอเข้าในห้องพระขุททกาปีติเจ้า พระขณิกาปีติเจ้า

พระโอกกันติกาปีติเจ้า พระอุพเพ็งคาปีติเจ้า พระผราณาปีติเจ้า

อันบังเกิดแก่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกะโพธิเจ้า

พระอรหันตเจ้าที่ล่วงเข้าสู่พระนิพพานไปแล้วมากกว่า

เม็ดทรายในท้องพระมหาสมุทรทั้ง ๔

ตันติประเพณีอันบังเกิดแก่พระพุทธเจ้า พระปัจเจกะโพธิเจ้า

พระอรหันตเจ้าทั้งหลายมีฉันใดก็ดี ขอพระธรรมเจ้าจงบังเกิด

ให้กว้างขวางในขันธะทั้ง ๕ ของข้าพเจ้าในกาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด

นิพพานะปัจจะโยโหตุ

พระพุทธคุณัง ข้าพเจ้าขอถวายชีวิตตัง

ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

พระธัมมคุณัง ข้าพเจ้าขอถวายชีวิตตัง

ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

พระสังฆคุณัง ข้าพเจ้าขอถวายชีวิตตัง

ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ

เสี่ยงบารมี

อุกาสะ อุกาสะ ข้าพเจ้าจะขอเสี่ยงนะพระบารมี

ขอให้แม่พระธรณี นำเอาบารมี 30 ทัศของข้าพเจ้า

ข้ามส่งให้ถึงฝั่ง หนทางพระนิพพาน ที่ได้กระทำการ

ของพระในครั้งนี้ นิพพานะปัจจะโยโหตุ

กรวดน้ำ

พระจตุโลก พระยะมะกะทั้ง ๔ ส่งน้ำอุทิศนี้เข้าไปในลังกาทวีป

ในห้องพระสมาธิ เป็นที่ประชุมการใหญ่ของแม่พระธรณี

ขอให้แม่พระธรณีจงมาเป็นทิพญาณ เป็นผู้ว่าการในโลกอุดร

ขอให้แม่พระธรณีจงนำเอากุศลผลบุญของข้าพเจ้าที่ได้กระทำ

ในครั้งนี้ นำส่งให้แก่ข้าพเจ้าในกาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด

นิพพานะปัจจะโยโหตุ

 

 

แผ่เมตตา

พุทธัง อนัตตัง ธัมมัง จักกะราวัง สังฆัง นิพพานัง

ข้าพเจ้าขอแผ่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

ให้แก่บรรดาสัตว์ที่มี ดิน น้ำ ลม ไฟ

บิดามารดา ญาติกาทั้งหลาย จงมารับเอาส่วนกุศลผลบุญ

ของข้าพเจ้าในกาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด

นิพพานะปัจจะโยโหตุ

 

ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมกาล

อทาสิ เม อกาสิ เม ญาติมิตตา สะขา จะ เม

เปตานัง ทักขิณัง ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง

นะ หิ รุณณัง วา โสโก วา ยาวัญญา ปะริเทวนา นะ

ตัง เปตานะมัตถายะ เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย

อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา

ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกับปะติ

โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต เปตานะ ปูชา

จะ กะตา อุฬารา พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง

ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ

 

คำภาวนาเพื่อให้จิตเข้าสู่สมาธิได้รวดเร็ว

เมต ตา ลา โภ นะ โส มิ ยะ อะ หะ พุท โธ

 

 

 

 

พระคาถาบูชาหลวงปู่เทพโลกอุดร

(ตั้งนะโม ๓ จบ)

โย อะริโย มะหาเถโร อะระหัง อะภิญญาธะโร

ปะฏิสัมภิทัปปัตโต เตวิชโช พุทธะสาวะโก

พะหู เมตตาทิวาสะโน มะหาเถรานุสาสะโก

อะมะตัญเญวะ สุชีวะติ อะภินันที คุหาวะนัง

โส โลกุตตะโร นาโม อัมเหหิ อะภิปูชิโต

อิธะ ฐานูปะมาคัมมะ กุสะเล โน นิโยชะเย

ปุตตะเมวะ ปิยัง เทสิ มัคคะผะลัง วะ เทสสะติ

ปะระมะสารีริกะธาตุ วะชิรัญจาปิวานิตัง

โส โลเก จะอุปปันโน เอเกเนวะ หิตังกะโร

อะยัง โน โข ปุญญะลาโภ อัปปะมัตโต ภะเวตัพโพ

สาธุกันตัง อะนุกะริสสามะ ยัง วะเรนะ สุภาสิตัง

โลกุตตะโร จะ มะหาเถโร เทวะตานะระปูชิโต

โลกุตตะระคุณัง เอตัง อะหัง วันทามิ ตัง สะทา

มะหาเถรานุภาเวนะ สุขัง โสตถี ภะวันตุ เม

บทกรวดน้ำพิเศษ

บุญนี้ที่ทำ ขอเป็นข้าวน้ำ เครื่องทิพย์นานา

เป็นวิมานทอง เรืองรองโสภา กับทั้งนางฟ้า

พันหนึ่งบริวาร เครื่องทิพย์ทั้งนี้ ขอถึงชนนี

บิดาอย่านาน ถึงญาติมิตรทุกหมู่ ครูบาอาจารย์

พ้นทุกข์อย่านาน ได้วิมานทอง ฝูงเปรตทั้งหลาย

นรกอสุรกาย หมู่สัตว์ทั้งผอง กุ้งปลาปูหอย

ใหญ่น้อยเนืองนอง จงตั้งใจปอง รับเอาส่วนบุญ

สัตว์เล็กสัตว์ใหญ่ ตัวเรานี้ไซร้ ได้ทำทารุณ

ด้วยกายและใจ ปากร้ายกองกูล รับเอาส่วนบุญ

อย่ามีเวรกรรม อินทราเทวา อีกทั้งพรหมา

ท้าวเวสสุวรรณ พระภูมิเจ้าที่ พระอาทิตย์พระจันทร์

อังคารพุธนั้น พระพฤหัสบดี พระศุกร์พระเสาร์

เทพเจ้าทั้งหลาย ทั้งหญิงทั้งชาย สิบสองราศรี

อีกทั้งพระกาฬ โลกะบาลทั้งสี่ ครุฑธานาคี

กินรีกินรา เทพเจ้าทั้งหลาย ทั้งหญิงทั้งชาย

จงโมทนา รับเอากุศล ผลบุญนี้หนา

ทั้งพสุธา คงคาวารี ชื่อว่าเข็ญใจ

ขอจงอย่าได้ ไปบังเกิดมี ความยากอย่าให้เห็น

ขอให้เป็นเศรษฐี คฤหบดี มนตรีพระยา

คลพาลอย่าให้พบ ขอให้ประสพ คนมีปัญญา

เดชะกุศล ขอให้พ้นจตุรา ขอให้ตัวข้า

พบพระศรีอาริย์ ได้ฟังคำสอน มีใจโอนอ่อน

สำเร็จอย่านาน ลุถึงเมืองแก้ว กล่าวแล้วคือ นิพพาน

ดับชาติสังขาร จากโลกโลกีย์ นิพพานะ ปัจจะโยโหตุฯ

คำอธิษฐานภาษาไทยโบราณ

ขอเดชะบุญ ตั้งจิตเจตนา ศรัทธาเปรมปรีย์

ชื่อว่าเข็ญใจ อย่าได้เกิดมี แก่ตัวข้านี้ จนถึงนิพพาน

ทุกข์โศกโรคภัย อับปรีย์จัญไร อย่าได้แผ้วพาน

ขอให้ชมชื่น ข้ายืนยาวนาน ได้บวชลูกหลาน ได้การกุศล

อุปัจเฉทะกะกรรม อย่าได้ครอบงำ เข้าจลาจล

เมื่อข้าดับจิต ชีวิตวายชนม์ เดชะกุศล ช่วยแนะนำไป

เมื่อข้าดับจิต ขอให้เนรมิต บังเกิดเร็วไว

ให้ได้วิมาน ยวดยานสุกใส สุมทุมเปลวไฟ อย่าได้เกิดมี

แม้นถือกำเนิด กลับชาติมาเกิด ให้สูงศักดิ์ศรี

ในวงศ์ประยูร สกุลผู้ดี ขัตติยะเมธี มั่งมีเงินทอง

แก้วแหวนแสนทรัพย์ เนืองนองสมบัติ อย่าได้อาทร

สมใจทุกอย่าง พงศ์เผ่าพวกพ้อง วงศ์ญาติพี่น้อง พรั่งพร้อมบริบูรณ์

บิดามารดา อยู่ในศีลห้า ศีลแปดพร้อมมูล

เมื่อยังไม่ได้ ขอให้ใจบุญ ผลธรรมอนุกูล มโนเปรมปรีด์

เกิดชาติใดใด ห่างทุกข์ห่างไข้ ขอใจยินดี

ศีลห้าประการ ผลทานบารมี สมบัติมากมี ยิ่ง ๆ ขึ้นไป

ดวงจิตอิจฉา โทโสโกรธา โมโหหลงใหล

ขอจงห่างสิ้น มลทินอันใด จงหลีกหนีไกล จากกิเสสันดาน

อะเสวะนา พระเจ้าเทศนา พาลาอหังการ

อย่าได้เกิดร่วม เคหะสถาน ขอพบเมธาจารย์ ผู้มีปัญญา

ให้เป็นประโยชน์ รู้แจ้งในโสต คุณโทษโทษา

ข้าคิดสิ่งใด จงเป็นวาจา เผยพจน์ออกมา ถูกต้องบาลี

ปราศจากมุสา ให้เป็นสัมมา กล่าวคำวาที

บทปลงสังขาร

โอ้ว่าอนิจจาสังขารเอ๋ย มาลงเอยสิ้นสุดหยุดเคลื่อนไหว

เมื่อหมดหวังครั้งสุดท้ายไม่หายใจ ธาตุลมไฟน้ำดินก็สิ้นตาม

นอนตัวแข็งและสลดเมื่อหมดชีพ เขาตราสังใส่หีบสี่คนหาม

สู่ป่าช้าสิ้นเชื้อเหลือแต่นาม ใครจะถามเรียกเขาก็เปล่าตาย

นี่แหละหนอมนุษย์เรามีเท่านี้ หมดลมแล้วก็ไม่มีซึ่งความหมาย

วิญญาณปราศขาดลับดับจากกาย หยุดวุ่นวายทุกทุกสิ่งนอนนิ่งเลย

เมื่อชีวิตเรานี้มีลมอยู่ จงเร่งรู้ศีลทานนะท่านเอย

ทั้งภาวนาทำใจหัดให้เคย อย่าละเลยความดีทุกวี่วัน

เมื่อสิ้นลมจิตพรากจากโลกนี้ จะได้พาความดีไปสวรรค์

อย่าทำบาปน้อยนิดให้ติดพัน เพราะบาปนั้นจะเป็นเงาตามเราไป

สู่นรกอเวจีที่มืดมิด สุดที่ใครจะตามติดไปช่วยได้

ต้องทนทุกข์สยดสยองในกองไฟ ตามแต่กรรมของผู้ใดที่ได้ทำ

หมั่นสวดมนต์ภาวนารักษาศีล สอนลูกหลานให้เคยชินทุกเช้าค่ำ

ให้รู้จักเคารพนบพระธรรม อย่าลืมคำที่พระสอนวอนให้ดี

เราเกิดมาเพื่อตายมิใช่อยู่ ทุกทุกคนจะต้องสู่ความเป็นผี

เมื่อเกิดมาเป็นคนได้ทั้งที ก็ควรสร้างความดีติดตัวไป

เพื่อจะได้เป็นสุขไม่ทุกข์ยาก ไม่คับแค้นลำบากเมื่อเกิดใหม่

ใครทำดีย่อมสุขแท้จงแน่ใจ ใครทำชั่วทุกข์ยากไร้ ย่อมถึงตน

เร่งบำเพ็ญทานศีลและภาวนา แสวงหาแต่สิ่งบุญกุศล

ทรัพย์ภายนอกเป็นของโลกโศกระคน ทรัพย์ภายในประดับตนพ้นทุกข์เอย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โอวาทในการปฏิบัติกรรมฐาน ของท่านพระครูโลกอุดร

การปฏิบัติธรรมทางด้านจิต จงเป็นผู้มีสติปัญญา รู้เท่าทันความเคลื่อนไหวของจิตทุกลมหายใจเข้าออกและทุกอิริยาบถ เว้นเสียแต่หลับ เมื่อรู้เท่าทันจิตแล้ว ต้องรักษาจิต คุ้มครองจิต จงดูจิตเคลื่อนไหวเหมือนเราดูลิเกหรือละคร เราอย่าเข้าไปเล่นลิเกหรือละครด้วย เราเป็นเพียงผู้นั่งดูอย่าหวั่นไหวไปตามจิต จงดูพฤติการณ์ของจิตเฉย ๆ ด้วยอุเบกขา จิตไม่มีตัวตน แต่สามารถกลิ้งกลอกอยอกล้อหรือยั่วเย้าให้เราหวั่นไหวดีใจและเสียใจได้ ฉะนั้นต้องนึกเสมอว่าจิตไม่มีตัวตน อย่ากลัวจิต อย่ากลัวอารมณ์ เราหรือสติสัมปชัญญะต้องเก่งกว่าจิต

ความนึกคิดอารมณ์ต่าง ๆ เป็นอาการของจิต ไม่ใช่ตัวจิต แต่เราเข้าใจว่าเป็นตัวจิต ธรรมชาติของจิต คือผู้รู้อารมณ์ คิดปรุงแต่งแยกแยะไปตามเรื่องของมัน แต่แล้วมันต้องดับไป เข้าหลักเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป หรือไม่เที่ยง ไม่จีรังยั่งยืนทนได้ยากเป็นทุกข์ และสลายไปไม่ใช่ตัวตน มันจะเกิดดับ ๆ อยู่ตามธรรมชาติ เมื่อเรารู้ความจริงของจิตเช่นนี้ เราก็จะสงบไม่วุ่นวาย เราในที่นี้ หมายถึงสติปัญญา สัพเพ ธัมมา อนัตตา ธรรม(สิ่งทั้งปวง) เป็นอนัตตา คือไม่ใช่ตัวตน

นิมิตที่เกิดขึ้นขณะนั่งสมาธิมีอยู่สองประการ คือ

๑.เกิดขึ้นเพราะเทพบันดาล คือเทวดาหรือพรหมแสดงภาพนิมิตและเสียงให้รู้เห็น

๒.นิมิตเกิดขึ้นเพราะอำนาจสมาธิเอง

นิมิตจะเป็นประเภทใดก็ตามขอให้ผู้เจริญกรรมฐาน จงเป็นผู้ใช้สติปัญญาให้รู้เท่าทันนิมิตที่เกิดขึ้นนั้นด้วยปัญญา อย่าเพิ่งหลงเชื่อทันทีจะเป็นความงมงายให้ปล่อยวางนิมิตนั้นไปเสียอย่าสนใจให้เอาจิตทำความจดจ่ออยู่เฉพาะจิต เมื่อจิตสงบรวมตัวจิตถอนตัวออกมารับรู้นิมิตนั้นอีกหากปรากฎนิมิตอย่างนี้ซ้ำ ๆ ซาก ๆ หลายครั้ง แสดงว่านิมิตนั้นเป็นของจริงเชื่อถือได้ แต่อย่างไรก็ตาม นิมิตต่าง ๆ จึงเป็นความจริงน้อย แต่ไม่จริงเสียมาก จงมุ่งหน้าทำจิตให้สงบเป็นอัปนาสมาธิ อย่าสนใจนิมิต หากทำได้อย่างนี้ จิตจะสงบตั้งมั่น เข้าถึงระดับฌานจะเกิดผลคือสมาบัติสูงขึ้นตามลำดับ จิตจะมีพลังอำนาจอันมหาศาล ฤทธิ์เดชจะตามมาเองด้วยอำนาจของฌาน...

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พระธรรมเทศนาของ หลวงปู่แหวน สุจิณโณ

เอามรรคที่เกิดขึ้นจากกาย จากใจ น้อมเข้าหาตน น้อมเข้ามาในกาย น้อมเข้ามาในใจ ให้รู้แจ้งเห็นจริงในใจนี่แหละ อย่าไปยึดไปถือที่อื่น ให้แจ้งอยู่ในกายนี้ ให้แจ้งอยู่ในใจนี้ จะหลงจะเขวไปอย่างไรก็ตามพยายามดึงเข้ามาจุดนี้น้อมเข้ามาหากายนี้ น้อมเข้ามาหาใจนี้ เอาใจนี่แหละนำออก หลักมีเท่านี้แหละ...

ถ้าออกจากกายใจแล้ว เขวไปแล้ว หลงไปแล้ว น้อมเข้ามาสู่กายสู่ใจแล้วก็ได้หลักใจดี ธรรมะก็คือการรักษากาย รักษาใจ น้อมเข้ามาหากาย น้อมเข้ามาหาใจนี่แหละ...

ศีล ตั้งอยู่ในกายนี้แหละ ตั้งอยู่ในวาจานี้แหละ และตั้งอยู่ในใจนี่แหละ ให้น้อมเข้ามา จึงรู้และตั้งหลักได้ ถ้าออกไปจากนี้มักหลงไป...

เอาอยู่ในกายในใจนี้ น้อมเข้ามาสู่อันนี้ นำหลงนำลืมออกไปเสีย เอาให้เป็นปัจจุบัน เอาจิตเอาใจนี้ละ วางถอดถอนออก ทางกายก็น้อมเข้ามาให้รู้แจ้งทางกาย น้อมเข้ามาหาใจของตนนี้ให้แจ่มแจ้ง ถ้าไปยึดถือเอาอย่างอื่น ก็เป็นเพียงสัญญา ความจำ น้อมเข้ามารู้แจ้งในใจของตนนี้ รู้แจ้งในกายของตนนี้ นอกจากนี้เป็นแต่เพียงอาการของธรรม...

ยกขึ้นสู่จิต น้อมเข้ามาหาจิตหาใจนี้ ความโลภ ความหลง ความโกรธ กิเลส ตัณหา ก็เกิดขึ้นที่นี่แหละ ต้องน้อมเข้ามาสู่จุดนี้ ถ้าน้อมเข้าหาจุดอื่นเป็นแผนที่ปริยัติธรรม รู้กายรู้ใจแจ่มแจ้งแล้ว นอกนั้นเป็นแต่อาการ บางทีไปจับไปยึดสิ่งนั้นสิ่งนี้ก็ทำให้ลืมไป...

ทำให้แจ้งอยู่ในกาย แจ้งอยู่ในใจ มีสติสัมปชัญญะ สติสัมโพชฌงค์ สัมมาสติ ก็อันเดียวกันนี่แหละให้พิจารณาอยู่อย่างนี้ อาศัยความเพียร ความมั่น...

คำว่า สติ รู้ในปัจจุบัน สัมปชัญญะ ก็รู้ในปัจจุบัน รู้ในตน รู้ในใจเรานี้แหละ รู้ในปัจจุบัน รู้ละความโภล ความโกรธ ความหลง ราคะ กิเลส ตัณหา เหล่านี้ละออกให้หมด ละออกจากใจ ละอยู่ตรงนี้แหละ สติ ถ้าได้กำลังใจแล้วก็สว่าง...

ตั้งจิตตั้งใจกำหนดเบื้องต้น คือ การกำหนดจิตหรือกำหนดศีล ทำให้กายก็บริสุทธิ์ วาจาก็บริสุทธิ์ กำหนดนำความผิดออกจากกายจากใจของตน...

เมื่อกายวาจาใจบริสุทธิ์ สมาธิก็บังเกิดขึ้น รู้แจ่มแจ้งไปหาจิตหาใจ กายนี้ก็รู้แจ้ง รู้แจ้งในกายในใจของตนนี้...

สติปัฎฐานสี่ สติมีเพียงตัวเดียว นอกนั้นท่านจัดไปตามอาการ แต่ทั้งสี่มารวมอยู่จุดเดียว คือ เมื่อสติกำหนดรู้กายแล้ว นอกนั้น คือ เวทนา จิต ธรรม ก็รู้ไปด้วยกันเพราะมีอาการเป็นอย่างเดียวกัน...

อาการทั้ง ๕ คือ อนิจจัง ทั้ง ๕ ทุกขัง ทั้ง ๕ อนัตตา ทั้ง ๕ เป็นสิ่งไม่ยั่งยืน เราเกิดมาอาศัยเขาชั่วอายุหนึ่ง อนิจจังทั้ง ๕ ทุกขังทั้ง ๕ อนัตตาทั้ง ๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มันก็สิ้นไปเสื่อมไป เราอาศัยเขาอยู่เพียงอายุหนึ่งเท่านั้น เมื่อรูปขันธ์แตกสลายมันก็หมดเรื่องกัน...

การประพฤติปฏิบัติในปัจจุบันสมมติกันให้ได้ชั้นนั้นบ้างชั้นนี้บ้าง อันนั้นมันเป็นสมมติ แต่ธรรม เช่น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสิ่งไม่เที่ยง ก็เป็นอยู่อย่างนั้น อนิจจังทั้ง ๕ ก็เป็นอยู่อย่างนั้น รูปัง อนิจจัง, เวทนา อนิจจา, สัญญา อนิจจา, สังขารา อนิจจา, วิญญาณัง อนิจจัง ก็เป็นอยู่อย่างนั้น เรามาอาศัยเขา สัญญาเราก็ไหลไปตามเวลา ดิน น้ำ ลม ไฟ สลายจากกันแล้วก็ยุติลง...

ส่วนจิตเป็นผู้รู้ เมื่อละสมมติวางสมมติได้แล้ว ก็เย็นต่อไป กลายเป็นวิมุติความหลุดพ้นไป เพราะสมมติทั้งหลายวางได้แล้วก็เป็นวิมุตติ แต่ถ้าเอาเข้าจริง ๆ แล้วมักจะหลง ถ้าเราตั้งใจเอาจริง ๆ พวกกิเลสก็เอาจริง ๆ กับเราเหมือนกัน เพราะฉะนั้น ต้องอาศัยความหมั่น ความเพียร ไม่ท้อถอย ถ้าละพวกกิเลสตัณหาได้แล้วก็เย็นสงบสบาย...

ถ้าจิตปรุงแต่งเป็นอดีต-อนาคตไป เราก็ต้องเพ่งพิจารณา เพราะอดีตก็เป็นธรรมเมา อนาคตก็เป็นธรรมเมา จิตที่รู้ปัจจุบัน เป็นธรรมโม...

อาการทั้ง ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนิจจังให้ยืนอยู่ในปัจจุบันธรรม อดีต-อนาคตเป็นธรรมเมา ธรรมโม คือ เห็นอยู่ รู้อยู่ในปัจจุบัน ตั้งอยู่ในปัจจุบัน ไม่ได้เป็นอดีต-อนาคต ดับทั้งอดีต-อนาคต แล้วเป็นปัจจุบัน คือ ธรรมโม...

ให้จิตรู้อยู่ส่วนกลาง คือ สิ่งที่ล่วงไปแล้วเป็นอดีต ยังมาไม่ถึงเป็นอนาคต ไม่เข้าไปเกี่ยวข้อง ส่วนทั้งสองอย่างนั้นให้เพ่งพินิจ คือเราอยู่ปัจจุบันธรรมจึงจะถูก เพราะปัจจุบันเป็นธรรมโม นอกจากนั้น อดีต-อนาคตเป็นธรรมเมา

รู้ปัจจุบันละปัจจุบันเป็นธรรมโม ถ้าไปยึดถืออดีต-อนาคตเท่ากับไปเก็บไปถือของปลอม ธรรมเหล่านี้เป็นปัจจัตตัง รู้เฉพาะตนละเฉพาะตน วางเฉพาะตน หมุนเข้าหากายหาใจนี่แหละ ถ้ามัวเอาอดีต-อนาคตจะกลายเป็นแผนที่ไป...

แผนที่ปริยัติธรรมจำมาได้มากจึงไปยึดไปถืออย่างนั้นบ้าง สิ่งนี้บ้างทั้งอดีต-อนาคต ทำให้ยิ่งห่างจากการรู้กายรู้ใจของเรา ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็กลายเป็นเชื้อของกิเลสที่อยู่ในแผนที่ใบลานแต่ไม่เดือดร้อน ถ้าหากมาอยู่ในใจจะทำให้เดือดร้อน เพราะฉนั้นถ้าเกิดขึ้นในใจ ให้เอาใจละ เอาใจวาง เอาใจออก เอาใจถอน ปัจจุบันเป็นอย่างนี้ ไม่ใช่จำปริยัติได้มาก พูดได้คล่อง เวลาเอาจริง ๆ ก็ไม่รู้จะจับอันไหนเป็นหลัก ปัจจุบันธรรมต้องรู้แจ้งเห็นแจ้งในกายใจของตน ต้องละวางถอดถอนในปัจจุบัน จึงจะใช้ได้...

ความโลภ ความโกรธ เกิดขึ้นในใจ น้อมเข้ามาแล้วละให้หมด ราคะ, กิเลส, ตัณหา, หากเกิดขึ้นมาต้องละเสีย เรื่องของสังขารก็ปรุงแต่งแล้วเกิดขึ้นดับลง เกิดขึ้นดับลง เอารู้เฉพาะปัจจุบัน อดีต-อนาคตวางไปเสีย อดีต-อนาคตเป็นธรรมเมา ปัจจุบันเป็นธรรมโม อันนี้ถือให้มั่น ๆ...

ความปฏิบัติเพ่งความเพียร เร่งเข้า ๆ ก็ทำให้ค่อยแจ่มแจ้งไปเอง ถ้าจิตเป็นอดีต-อนาคต ต้องวางเสีย เอาเฉพาะปัจจุบัน...

ความโลภ ความโกรธ ความหลง มักจะเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เราต้องพิจารณาค้นเข้าหาใจว่าเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ทั้งนี้ก็เพราะจิตมักจะเก็บอดีต-อนาคตมาไว้ ทำให้แส่ส่ายไปตามอาการ ให้เอาเฉพาะปัจจุบันเป็นธรรมโม แล้วน้อมเข้ามาให้ได้ กำลังทางด้านจิตใจ ละวางอดีต-อนาคต อันเป็นส่วนธรรมเมา แล้วเพ่งพินิจเฉพาะธรรมโม...

รักษากายให้บริสุทธิ์ รักษาวาจาให้บริสุทธิ์ รักษาใจให้บริสุทธิ์ น้อมเข้าหาใจ ให้รู้แจ้งใจนี้ กายก็ให้รู้แจ้ง ให้รู้แจ้งกายใจ จนละได้ วางได้ เพ่งจนเป็นร่างกระดูก ทำได้อย่างนี้ก็พอสมควร เอาให้มันรู้แจ้งเฉพาะกายใจนี้ ไม่ต้องเอามาก ถ้าเอามากก็มักไปยึดเป็นอดีต-อนาคตไปเสีย ข้อนี้สำคัญเกิดขึ้นแล้วก็ดับ เกิดขึ้นแล้วก็ดับตัวสัญญา...

ตั้งหลักไว้ อดีต-อนาคตเป็นธรรมเมา ปัจจุบันเป็นธรรมโม ระลึกไว้เสมอว่า ดับ ละ วาง ในปัจจุบัน จึงเป็นธรรมโม เมื่อจิตอยู่ในปัจจุบันธรรม แต่ถ้าหากอดีต-อนาคตเกิดขึ้นแล้วก็ต้องดับลงไป...

ต้องหมั่นต้องพยายามเข้าหาจุดของจริง อดีต-อนาคต-ปัจจุบัน สามอย่างนี้แหละเป็นทางเดินของจิต ความโลภ ความโกรธ ความหลง ราคะ กิเลส ตัณหา ก็เกิดขึ้นในใจนี้แหละ แสดงออกจากใจนี้ ให้น้อมเข้ามา ๆ ถึงอย่างนั้นกิเลสทั้งหลายก็ยังทำลายคุณความดีได้เหมือนกัน แต่ถ้ามีสติความชั่วเหล่านั้นก็ดับไป...

แนวทางการปฏิบัติธรรม โดย อาจารย์ชวยง พิกุลสวัสดิ์

จิตใจของคนเราย่อมหวั่นไหวไปตามอารมณ์ต่าง ๆ ที่มากระทบ คำว่าอารมณ์ หมายถึง สิ่งที่จิตได้รับรู้ซึ่งได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง สี่งที่สัมผัสได้ทางกาย (เช่น เย็น ร้อน อ่อน แข็ง) ความคิดต่าง ๆ

การได้รับอารมณ์ดี ๆ เรียกว่า ได้รับ สุขเวทนา เช่นเห็นภาพดี ๆ เห็นหน้าคนที่เราชอบ ได้กินอาหารรสดี ได้กลิ่นหอม ได้ยินเสียงดี ๆ ได้ยินเสียงคนชม อยู่ในที่อากาศเย็นสบาย นั่งบนเบาะนุ่ม ๆ คิดถึงเรื่องดี ๆ เหล่านี้เรียกว่า ได้รับสุขเวทนา

การได้รับอารมณ์ที่ไม่ดีเรียกว่า ได้รับทุกขเวทนา เช่น เห็นภาพที่ไม่ดี เห็นหน้าคนที่เราเกลียด ได้กินอาหารรสไม่ดี ได้กลิ่นเหม็น ได้ยินเสียงคนด่า อยู่ในที่อากาศร้อนอบอ้าว ถูกหนามตำรู้สึกเจ็บ คิดถึงเรื่องที่ไม่ดี เหล่านี้เรียกว่าได้รับทุกขเวทนา

ถ้าได้รับอารมณ์ที่เป็นกลาง ๆ ไม่สบายหรือลำบากเกินไปก็เรียกว่า ได้รับ อุเบกขาเวทนา

โดยปกติคนเราทุกคน เมื่อได้รับสุขเวทนาก็จะมี ความชอบ ความพอใจ เกิดขึ้น เมื่อได้รับทุกขเวทนาก็จะมีความไม่ชอบไม่พอใจเกิดขึ้น ที่จริงแล้วสุขเวทนาไม่ใช่สาเหตุที่ทำให้เกิดความพอใจ และทุกขเวทนาก็ไม่ใช่สาเหตุ ที่ทำให้เกิดความไม่พอใจ

แต่เป็นเพราะขณะที่เราได้รับเวทนาในการเห็น การได้ยิน ได้กลิ่น รู้รส การสัมผัสทางกาย การนึกคิดอยู่นั้น มีกิเลสเข้าร่วมด้วย ทำให้เกิดความรู้สึกผิดไปจากความเป็นจริง ความรู้สึกที่ผิดไปจากความเป็นจริง เช่น รู้สึกพอใจ หรือไม่พอใจ ในอารมณ์ที่มากระทบนี้เรียกว่า อุปาทาน

งานของการปฏิบัติธรรม ก็คือ การละอุปาทาน คือ ไม่ยินดี ยินร้ายในอารมณ์ต่าง ๆ ที่มากระทบ ให้รับรู้แต่สิ่งที่เกิดขึ้นเฉย ๆ

ขณะที่ทำสมาธิ เราสามารถปฏิบัติวิปัสสนาได้ โดยการดูอารมณ์ที่เกิดขึ้นเฉย ๆ ทำใจเป็นกลาง ไม่ยินดียินร้ายในอารมณ์เหล่านั้น

เช่น เมื่อมีนิมิตเกิดขึ้น ก็รับรู้ในนิมิตนั้น แต่อย่าดีใจ เมื่อนิมิตปรากฎอยู่ ก็ให้รู้ว่ามีนิมิตอย่างนั้น ๆ ปรากฎอยู่ ไม่ยินดีในนิมิตนั้น เมื่อนิมิตเสื่อมไป ก็ให้รู้ว่านิมิตกำลังเสื่อมไป ไม่ให้ยินร้าย ในความเสื่อมนั้น ให้ดูนิมิตเหมือนกับดูภาพยนตร์ในโทรทัศน์ นิมิตจะดีหรือไม่ดีก็ไม่เกี่ยวกับเรา ให้ดูเฉย ๆ

เมื่อปีติเกิดขึ้น ก็ให้รู้ว่าปีติเกิดขึ้น ไม่ให้ดีใจ เมื่อปีติปรากฎอยู่ก็ให้รู้ว่าปีติ

ปรากฎอยู่ ไม่ให้พอใจในปีตินั้น เมื่อปีติเสื่อมไปก็ให้รู้ว่าปีติเสื่อม ไม่ให้เสียใจในความเสื่อมนั้น

เมื่อมีสุขเกิดขึ้น ก็ให้รู้ว่าสุขเกิดขึ้น ไม่ให้ดีใจ เมื่อสุขปรากฎอยู่ ก็ให้รู้ว่าสุขปรากฎอยู่ ไม่ให้พอใจในสุขนั้น เมื่อสุขเพิ่มขึ้นก็ให้รู้ว่าสุขเพิ่มขึ้น ไม่ให้ดีใจ เมื่อสุขลดลง ก็ให้รู้ว่าสุขลดลง ไม่ให้เสียใจ เมื่อสุขเสื่อมไป ก็ให้รู้ว่าสุขเสื่อมไป ไม่ให้เสียใจ

เมื่อมีความฟุ้งซ่าน ก็ให้รู้ว่ามีความฟุ้งซ่าน ไม่ให้เสียใจ แล้วพยายามทำจิตให้สงบ เพื่อให้ความฟุ้งซ่านหายไป เมื่อความฟุ้งซ่านหายไป ก็ให้รู้ว่าความฟุ้งซ่านหายไป ไม่ให้มีความดีใจเกิดขึ้น

วันไหนนั่งสมาธิได้ดี ก็ให้รู้ว่าสมาธิดี แต่ไม่ให้ดีใจ วันไหนสมาธิไม่ดี ก็ให้รู้ว่าสมาธิไม่ดี ไม่ให้เสียใจ อย่างนี้เป็นการปฏิบัติวิปัสสนาในขณะที่ทำสมาธิ

มีนักปฏิบัติหลายท่าน ทำสมาธิได้ฌาณขึ้นสูง แต่ติดในสมาธิ คือขณะใดที่สมาธิดีก็พอใจขณะใดที่สมาธิไม่ดีก็ไม่พอใจอย่างนี้เรียกว่าติดในสมาธิ ฝึกให้ตายก็ไม่มีทางบรรลุมรรคผล เพราะเหตุที่ไม่ยอมละอุปาทาน

ขณะที่เราทำกิจการงานต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน เราก็สามารถปฏิบัติวิปัสสนาได้ โดยการดูอารมณ์ที่มากระทบเฉย ๆ ทำใจเป็นกลาง ไม่ยินดียินร้ายในอารมณ์เหล่านั้น

เมื่อสุขเวทนาเกิดขึ้น ก็ให้รู้ในสุขเวทนานั้นเฉย ๆ ไม่ยินดีในสุขเวทนานั้น

ขณะที่เห็นภาพดี ๆ เช่น เห็นรถยนต์ราคาแพง ก็ให้รู้ในภาพนั้นเฉย ๆ ว่าเป็นรถยนต์ราคาแพงแต่ไม่ให้มีความรู้สึกสวย ชอบพอใจหรืออยากได้เกิดขึ้นในจิตใจ ถ้ามีความรู้สึกเหล่านี้เกิดขึ้น ก็ให้ละความรู้สึกเหล่านี้เสีย

ขณะที่เห็นภาพไม่ดี เช่น เห็นคนโดนรถชน ก็ให้รู้ในภาพนั้นเฉย ๆ คือรู้ว่าคนโดนรถชนแต่ไม่ให้มีความรู้สึกไม่พอใจ เจ็บ ตกใจ ตื่นเต้น เกิดขึ้นในจิตใจ ถ้ามีก็ให้ละเสีย ให้รู้แต่เรื่องราวเฉย ๆ

ขณะที่ได้กินอาหารรสดี เช่น ไก่ย่าง ก็ให้รู้ในรสชาติเฉย ๆ ไม่ให้มีความรู้สึกอร่อย ชอบ พอใจเกิดขึ้น ในจิตใจ ถ้ามีก็ให้ละเสีย ขณะที่ฟังเพลงก็ให้รู้ในเสียงเพลงเท่านั้น ไม่ให้มีความรู้สึก ไพเราะ ชอบ เร้าใจ คึกคัก สนุก เกิดขึ้นในจิตใจ ถ้ามีก็ให้ละเสีย

เวลาอยู่ในที่อากาศเย็นสบาย ก็ให้รู้ว่าเย็นเฉย ๆ ไม่ให้มีความรู้สึกชอบหรือพอใจเกิดขึ้น ถ้าเปลี่ยนไปอยู่ในที่อากาศร้อน อบอ้าว ก็ให้รู้ว่าอากาศร้อนเฉย ๆ อย่าให้มีความรู้สึกหงุดหงิด รำคาญใจ ติดตามมา

เวลานึกถึงเรื่องดี ๆ เช่น นึกถึงใบหน้าของคนที่เรารัก ก็ให้รู้ในใบหน้านั้นเฉย ๆ ไม่ให้มีความรู้สึกชอบหรือพอใจ เวลานึกถึงใบหน้าของคนที่เราไม่ชอบ ก็ให้รู้ในใบหน้านั้นเฉย ๆ อย่าให้มีความรู้สึก โกรธ เกลียด หรือไม่ชอบเกิดขึ้น

ขณะที่เรายืนรอรถเมล์ ถ้ารอนานจนเกิดรอ รู้สึกหงุดหงิด ไม่พอใจขึ้นมา ก็ให้ละความหงุดหงิดนั้นเสีย ทำความรู้สึกว่ากำลังยืนรอรถเมล์อยู่ รถยังไม่มาก็ให้รู้ว่ารถยังไม่มา ยืนรอนานแล้วก็ให้รู้ว่ายืนนานแล้วแต่อย่าให้มีความโกรธ ความหงุดหงิด เกิดขึ้นในใจ พยายามทำใจให้สบายแล้วก็รอต่อไปด้วยใจสงบ

ถ้าเห็นรถแล่นมาก็อย่าดีใจ ทำใจเฉย ๆ ถ้ารถแน่นก็อย่าเสียใจ ทำใจเฉย ๆ ถ้ารถว่างก็ให้รู้ว่ารถว่าง อย่าดีใจ ขึ้นไปหาที่นั่ง ได้นั่งที่ดีก็อย่าดีใจ ได้นั่งที่ไม่ดีก็อย่าเสียใจ รถแล่นเร็วก็ให้รู้ว่ารถแล่นเร็ว อย่าดีใจ เวลารถแล่นช้าอืดอาดก็อย่าเสียใจ ถ้ามีความไม่พอใจอยากให้รถแล่นเร็ว ก็ให้ละความไม่พอใจเสียให้รู้ว่ารถแล่นช้าเฉย ๆ อย่าอยากให้รถแล่นเร็ว มันจะแล่นอย่างไรก็ปล่อยให้เป็นเรื่องของมัน ทำใจให้สบาย

การที่จะปฏิบัติธรรมให้ได้ผลนั้น ควรจะทำตลอดทั้งวัน ไม่ใช่ทำวันละชั่วโมง ส่วนเวลาที่เหลือก็ไปอยู่กับกิเลส เราควรฝึกละอุปทาน ให้สัมพันธ์กับชีวิตประจำวัน กิเลสเกิดขึ้นเมื่อใดก็ให้ละเมื่อนั้น

ละได้หรือไม่ได้ ไม่ใช่เรื่องสำคัญ หน้าที่ของเราคือฝึกละบ่อย ๆ ทำอยู่เสมอ ๆ ให้เป็นนิสัยอีกหน่อยก็เก่งไปเอง และในวันหนึ่ง ๆ เราก็ควรจะมีเวลาสักครึ่งชั่วโมงหรือหนึ่งชั่วโมง สำหรับทำสมาธิหรือทำวิปัสสนาล้วน ๆ โดยไม่ทำกิจอื่นเลย เพื่อเพิ่มกำลังความตั้งใจ ถ้าทำได้อย่างนี้ทุกวัน ก็จะทำให้การปฏิบัติธรรมให้ผลเร็ว

ถ้าเราทำความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติธรรมให้ถูกต้อง และได้ลงมือปฏิบัติ ย่อมจะต้องประสบผลสำเร็จแน่นอน แต่จะช้าหรือเร็วนั้น ขึ้นอยู่กับบุญบารมีที่สั่งสมมาในอดีต และความเพียรที่ทำในปัจจุบัน ถ้ามีบุญบารมีมากก็จะได้ผลเร็ว ถ้ามีความเพียรมาก คือตั้งใจทำ ขยันทำ ก็จะได้ผลเร็ว

ตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติธรรม ผู้ปฏิบัติจะเห็นความเปลี่ยนแปลงของจิตใจอยู่ตลอดเวลา ตอนแรกจิตใจของเราจะหวั่นไหว ไปตามอารมณ์ที่มากระทบได้ง่าย เช่น โดนว่าหน่อยก็โกรธ คนชมก็ชอบ อยากให้ชมอีก แต่เมื่อเราปฏิบัติธรรม หัดละอุปาทานอยู่เสมอ ๆ เราก็จะเป็นคนที่มีจิตใจมั่นคงขึ้น หวั่นไหวในอารมณ์ที่มากระทบน้อยลง คนว่าก็ไม่ค่อยโกรธ คนชมก็ไม่ค่อยดีใจเหมือนแต่ก่อน

ตอนที่เราหัดละอุปทานใหม่ ๆ อาจจะต้องมีการพิจารณาหาเหตุหาผลนานพอสมควร กว่าจะทำให้กิเลสคลายตัวลงได้ แต่เมื่อฝึกบ่อย ๆ ก็จะมีความเคยชิน สามารถละกิเลสได้ง่ายขึ้น และถ้าฝึกจนชำนาญ เมื่อกิเลสเกิดขึ้นเพียงแต่รู้สึกตัวกิเลสก็จะดับไปทันที เรียกว่ากิเลสเกิดขึ้นปุ๊บก็ละได้ปั๊บ

แต่โลกนี้ไม่มีอะไรเที่ยงแท้แน่นอน แม้ว่าเราจะฝึกละอุปาทานจนชำนาญแล้วก็ตาม แต่บางครั้งที่จิตฟุ้งซ่านมาก เราก็ไม่สามารถที่จะละอุปาทานได้ บางครั้งเราอาจจะมีความรู้สึกว่าสภาพจิตของเราตกต่ำมาก เหมือนกับไม่เคยปฏิบัติธรรมมาก่อนเลย มีแต่ความหงุดหงิด ฟุ้งซ่านรำคาญใจอยู่ตลอดเวลา

ถ้าเราไม่รู้ในเหตุในผลดีพอก็อาจจะเกิดความท้อแท้ น้อยใจทำให้การปฏิบัติธรรมเสื่อมถอยลง หรืออาจจะถึงกับเลิกราไปเลยก็ขอให้เรารู้ในเหตุในผลว่าเป็นธรรมดาของการปฏิบัติธรรมที่ย่อมมีแพ้มีชนะ

บางครั้งจิตมีความฟุ้งซ่านมาก กังวลมาก เราก็ไม่สามารถละอุปทานได้ บางครั้งสติมีกำลังสมาธิดีเราก็สามารถละอุปทานได้ หน้าที่ของเราไม่ใช่การคิดมาก วังวลท้อแท้น้อยใจ แต่หน้าที่ของเราคือการฝึกหัดละอุปาทานทำมาก ๆ ทำบ่อย ๆ

เมื่อปฏิบัติธรรมได้ผลดี ก็อย่าดีใจ ปฏิบัติธรรมได้ผลไม่ดี ก็อย่าเสียใจ พยายามหาทางแก้ไขเพื่อให้การปฏิบัติธรรมก้าวหน้าต่อไปเพียรรักษาจิตให้เป็นปกติอยู่เสมอ

คำว่า จิตที่เป็นปกติในที่นี้ไม่ได้หมายถึงความรู้สึกเฉย ๆ เหมือนคนทั่วไป เพราะความรู้สึกเฉย ๆ ของคนทั่วไปนั้น เป็นลักษณะของจิตที่มีความฟุ้งซ่านเผลอสติ หดหู่ เศร้าหมอง เจือปนอยู่

คำว่าจิตที่เป็นปกติ ในที่นี้ หมายถึง สภาพจิตที่รู้ชัดในอารมณ์ที่มากระทบ เป็นสภาพจิตที่มีความกระปรี้กระเปร่า ผ่องใส เบิกบาน ไม่เศร้าหมอง

 

 

 

ธรรมะจาก บัญช์ บงกช

จิตวิญญาณ เป็นตัวสำคัญที่สุดในคน การที่จะให้พ้นคน (คือการเวียนว่ายตายเกิดของคน) ก็ต้องให้พ้นจิตวิญญาณ

จิตที่ถูกปรุงแต่งขึ้นด้วยอาสวะกิเลสทั้งหลายทั้งปวงนั้น เป็นปัจจัยให้มีการเกิด ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน ๑๒ ตัว เริ่มต้นตั้งแต่ตัว อวิชชา ไปสิ้นสุดที่ตัวชรามรณะ เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท

เป็นจิตที่ถูกครอบงำด้วยสังสารวัฏ คือ การเวียนว่ายตายเกิดไม่มีที่สิ้นสุด

การจะทำให้จิตที่ถูกครอบงำหลุดพ้น ก็จะต้องตัดสิ่งอาศัยกันและกันให้มีการเกิดทั้ง ๑๒ ตัวนั้นเสีย โดยการพิจารณาเห็นธรรมนิยามเป็นธรรมดาธรรมชาติ คือให้เห็นว่าสิ่งทั้ง ๑๒ นั้น เป็นของไม่เที่ยง (อนิจจัง) เป็นความทุกข์(ทุกขัง) และไม่ใช่ตัวตน(อนัตตา) ซึ่งรวมเรียกว่า ไตรลักษณ์ เหล่านี้เป็นการตัดปฏิจจสมุทปบาท เพื่อให้เป็นจิตที่บริสุทธิ์พ้นจากการครอบงำ ซึ่งจะเป็นดวงธรรม เข้าสู่สภาวะ นิพพาน ในที่สุด

ตัดสิ้นอาสวะกิเลส อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

ตัดตัวขันธ์ ๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ด้วย วิปัสสนาญาณ

แปรสภาพเป็นภาวะใหม่ที่เหลืออยู่ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุติ และ

วิมุตติญาณทัสนะ รวมเป็น ดวงธรรม

ยกดวงธรรม ขึ้นไว้เหนือดวงจิต

เมื่อพึงทราบธรรมดาของจิตเป็นเช่นนั้น การที่จะทำสมาธิจิตเบื้องแรก ก็คือการรวมจิตทุกดวงที่กระจัดกระจายอยู่นั้นกลับเข้ามาอยู่ภายในตนเสีย ณ ที่จุดใดจุดหนึ่งให้เป็นจิตดวงเดียว ณ ที่นั้น พึงทำดวงจิตดวงเดียวนั้นให้นิ่งสนิท เป็นสมาธิมั่นคง เป็นฌาน เป็นญาณ และวิมุตติญาณทัสนะเทอญ

จิตที่จะถึงวิมุตติญาณทัสนะ คือ รู้เห็นแจ้งชัดแล้วว่า จิตหลุดพ้นจาก

อาสวะกิเลสทั้งหลายแล้ว จิตนั้นจะต้องพ้นจากการครอบงำจากห้วงแห่ง

วังวน คือวัฏสงสารการเกิดการตาย จะต้องพิจารณาด้วยวิปัสสนาญาณ

รู้ถึงการเกิดของกองทุกข์และการดับกองทุกข์นั้น เป็นการพิจารณา

ปฏิจจสมุปบาท คือ พิจารณาถึงการที่สิ่งทั้งหลายอาศัยเกื้อกูลกันจึงทำให้

มีการเกิด อันมี ๑๒ สิ่ง คือ

๑. อวิชชา

อวิชชาเป็นไฉน ความไม่รู้ทุกข์ ความไม่รู้เหตุให้เกิดทุกข์ ความไม่รู้ความดับทุกข์ ความไม่รู้ในปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับทุกข์

อวิชชา คือ ความรู้ไม่จริง หรือความไม่รู้จริงถึงความทุกข์

ทุกข์ คือ ภาวะบีบเค้น จากสิ่งที่มิใช่ตัวของมันเอง ต้องอาศัยปัจจัยประกอบที่ให้เกิดตัวตนและถูกบีบเค้นจากปัจจัยนั้น เช่น ร่างกาย อาศัยดิน น้ำลม ไฟ ประกอบขึ้น จึงถูกบีบเค้นอยู่ด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ นั้น หากธาตุใดธาตุหนึ่งแปรปรวน ก็จะมีอาการป่วยไข้ขึ้น ทำให้เป็นทุกข์ เป็นต้น

๒. สังขาร

สังขารเป็นไฉน สังขารสามเหล่านี้ คือ กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร นี้เรียกว่า สังขาร

สังขาร คือ กาย วจี และจิต ประกอบกันเป็นสังขาร

๓. วิญญาณ

วิญญาณเป็นไฉน วิญญาณ ๖ หมวด เหล่านี้คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ นี้เรียกว่า วิญญาณ

วิญญาณ คือ ความรับรู้ ความรับรู้ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกายและทางใจ

๔. นามรูป

นามรูปเป็นไฉน ความรู้สึก ความทรงจำ ความตั้งใจ ผัสสะ การทำใจ นี้เรียกว่า นาม มหาภูตรูป ๔ และที่อาศัยมหาภูต รูป ๔ นี้เรียกว่า รูป

มหาภูตรูป คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ รูปที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ เช่น ชีวิตินทรีย์ หทัยวัตถุ ระบบประสาท เพศ เป็นต้น

๕. สฬายตนะ

สฬายตนะเป็นไฉน อายตนะ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เรียกว่าสฬายตนะ

สฬายตนะ คือ จุดต่อให้เกิดการกระทบ ๖ ตำแหน่ง คือ ตัวเชื่อมประสาทตา ตัวเชื่อมประสาทหู ตัวเชื่อมประสาทจมูก ตัวเชื่อมประสาทลิ้น ตัวเชื่อมประสาทกาย ตัวเชื่อมประสาทใจ ประสาททั้ง ๕ ส่วนคือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นควบคุมโดยสมอง สมองทำงานภายใต้ใจอีกชั้นหนึ่ง

๖. ผัสสะ

ผัสสะเป็นไฉน ผัสสะ 6 หมวดเหล่านี้ คือ จักขุผัสสะ โสตผัสสะ

ฆานผัสสะ ชิวหาผัสสะ กายผัสสะ มโนผัสสะ นี้เรียกว่า ผัสสะ

ผัสสะ คือ การกระทบ กระทบตา กระทบหู กระทบจมูก กระทบลิ้น กระทบกาย กระทบใจ

๗. เวทนา

เวทนาเป็นไฉน เวทนา ๖ หมวดเหล่านี้ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา

กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา นี้เรียกว่า เวทนา

เวทนา คือ ความรู้สึก ด้วย ตา ด้วยเสียง ด้วยกลิ่น ด้วยรส ด้วยกายสัมผัสต่าง ๆ ด้วยอารมณ์ ซึ่งมีอาการ ๓ อย่าง คือ รู้สึกสบาย รู้สึกบีบเค้น รู้สึกเฉย ๆ ไม่ทุกข์ ไม่สุข

๘. ตัณหา

ตัณหาเป็นไฉน ตัณหา ๖ หมวดเหล่านี้ คือ รูปตัณหา สัททตัณหา

คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา นี้เรียกว่า ตัณหา

ตัณหา คือ การแล่นไปด้วยความอยากในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในสัมผัสทางกาย ในการเสพในอารมณ์ความอยากมี ๓ อาการ คือ อยากเข้าไปเสพ อยากเข้าไปเป็น ไม่อยากเป็น

๙. อุปาทาน

อุปาทานเป็นไฉน อุปาทาน ๔ เหล่านี้ คือ กามุปาทาน ทิฏฐปาทาน สีลพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน นี้เรียกว่า อุปาทาน

อุปาทาน คือ การยึดถือ หรือ ภาวะซึ่งเกาะอยู่ ยึดถืออยู่กับการบริโภคกาม ยึดถืออยู่กับความคิดเห็น ยึดถืออยู่กับสีลพรต ยึดถือว่าสิ่งนึ้นสิ่งนี้ เป็นต้น

๑๐. ภพ

ภพเป็นไฉน ภพ ๓ เหล่านี้ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ นี้เรียกว่า ภพ

กามภพ มีอบายภูมิ คือ ภูมิชั้นต่ำ อสุรกาย เดรัจฉาน เปรต สัตว์นรก

สุคติภูมิ คือ ภูมิที่มีความสุขอยู่บ้าง คือ มนุษยภูมิ เทวภูมิ

รูปภพ คือ ภูมิที่อยู่ของผู้ยินดีในรูปฌานสมาธิและพระอริยเจ้าระดับอนาคามี

อรูปภพ คือ ภูมิที่อยู่ของผู้ทรงอยู่ในอรูปฌานสมาบัติ คือ สมาธิที่ไม่ถือนิมิตหมายของรูปใด ๆ เข้าสู่ความไม่มีรูป

๑๑. ชาติ

ชาติเป็นไฉน ความเกิด ความบังเกิดขึ้น ความหยั่งลงเกิด ความเกิดจำเพาะ ความปรากฎแห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบในหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่านั้น ๆ นี้เรียกว่า ชาติ

ชาติ คือ การเกิด จำแนกเป็น ๔ ลักษณะ คือ ชลาพุชะ อัณฑชะ สังเสทชะ โอปปาติกะ

ชลาพุชะ คือ สัตว์ที่เกิดในครรภ์ ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหลาย

อัณฑชะ คือ สัตว์ที่เกิดในไข่ ได้แก่ สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลานบางชนิด

สังเสทชะ คือ สัตว์ที่เกิดในเมือกในไคล เช่น แมลง

โอปปาติกะ คือ สัตว์ที่ผุดขึ้นทันใดไม่ต้องอาศัยที่ตั้ง เช่น เทวดา มาร พรหม สัตว์นรก เปรตและมนุษย์ในยุคแรกของวัฒนาการ

๑๒. ชราและมรณะ

ชราและมรณะเป็นไฉน ความแก่ ภาวะของความแก่ มีฟันหลุด ผมหงอก หนังเหี่ยว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ในหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์นั้น ๆ นี้เรียกว่า ชรา

ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความทำลาย ความอันตรธาน มฤตยู ความตาย กาลกิริยา ความแตกแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งให้เป็นซากศพ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้น ๆ นี้เรียกว่า มรณะ

พิจารณาดับกองทุกข์ที่ก่อตัวตนเกิดมาจนกระทั่งตายไปทั้ง ๑๒ สิ่งนั้นเสีย ด้วยโน้มจิตมองความจริงแห่งไตรลักษณ์ ๓ ประการว่า กองทุกข์ทั้ง ๑๒ สิ่งนั้น เป็นสิ่งไม่เที่ยงแท้แน่นอน เป็น อนิจจัง เป็นสิ่งบีบคั้นบีบเค้นทั้งสิ้น เป็นทุกขัง

ไม่ใช่ตัวตนตลอดไป เป็นอนัตตา

แล้วตัดทิ้งไปด้วยวิธีการของ อริยสัจ ๔ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เป็นการตัดอาสวะกิเลสทั้งหลายทั้งปวงให้สิ้นไป

แล้วดับขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ให้มอดมิด

เมื่อนั้น จะเหลืออยู่สิ่งบริสุทธิ์ผุดผ่องแท้ ๆ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัสนะ

รวมกันเข้าเป็นภาวะหนึ่งเดียว คือ นิพพาน

อันเป็นการสิ้นรอบหมุน วังวันชีวิต อีกต่อไป

น้ำในนาเหือดแห้งไปเมื่อหน้าแล้งจะกลับกลายเป็นฝนตกลงมาอีกเมื่อหน้าฝน แต่ดวงจิตเวไนยสัตว์เมื่อหลุดพ้นถึงนิพพานแล้ว จะไม่เวียนว่ายกลับมาในวัฏสงสารอีกเลย เป็นนิรันดร

 

 

 

 

 

 

อัปมัญญาพรหมวิหาร โดย พระมหาฉัตรชัย รักขิตจิตโต

อัปปมัญญาพรหมวิหารประกอบด้วยธรรมะ ๔ ประการ คือ

๑. เมตตาพรหมวิหาร

๒. กรุณาพรหมวิหาร

๓. มุทิตาพรหมวิหาร

๔. อุเบกขาพรหมวิหาร

ผู้ปฏิบัติพึงเริ่มต้นที่เมตตาพรหมวิหารก่อน เมื่อจิตบรรลุถึงฌาณแล้วจึงค่อยปฏิบัติไปตามลำดับ

แรกทีเดียวนั้น ผู้ปฏิบัติต้องรักษาศีล ๕ เพราะผู้มีศีลจึงจะมีสมาธิ ถ้าไม่มีศีลแล้ว แม้จะฝึกจนเกิดสมาธิก็เป็นมิจฉาสมาธิ ไม่ใช่สัมมาสมาธิ เมื่อมีศีลดีแล้วพึงตัดปลิโพธิ คือ ความกังวล ๑๐ ประการ คือ

๑. ที่อยู่

๒. ตระกูล

๓. ญาติ

๔. ลาภสัการะ

๕. หมู่คณะ

๖. การเดินทางไกล

๗. การกระทำต่าง ๆ

๘. ครอบครัว

๙ โรคในตน

๑๐ การศึกษาด้านปริยัติ การเจริญฤทธิ์

จากนั้นพึงพิจารณาเห็นโทษของโทสะและเห็นอานิสงส์ของขันติ ดังแผนภูมิ ดังนี้.-

รักษาศีล--------- ตัดปลิโพธิ ๑๐ -------------พิจารณาให้เห็นโทษของโทสะ(ความโกรธ)---------พิจารณาเห็นอานิสงส์ของขันติ(ความอดทน)

บุคคลทั่วไปที่ไม่เคยรักษาศีล ๕ อย่างเคร่งครัดนั้น อาจทำให้ศีลของตนด่างพร้อยได้ง่าย อย่างไรก็ตามควรจะตรวจดูศีลของตนให้ดี เช่น ถ้าเราผิดศีลข้อ ๑ คือ ห้ามฆ่าสัตว์ หากเราละเมิดศีลไปฆ่าสัตว์ ก็ถือว่าขาดเมตตา การจะเจริญเมตตานั้น ย่อมเป็นไปไม่ได้ แต่ในเวลาปฏิบัติจริง ๆ แล้ว ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่พอจะรักษาข้อนี้ได้ ข้อที่ละเมิดแล้วสร้างปัญหาที่ท่านเน้นที่สุดคือข้อ ๓ และข้อ ๕ คือ ไม่ผิดลูกเมียใคร และไม่ดื่มสุรายาเมา เพราะถ้าละเมิด ๒ ข้อนี้แล้ว จะเจริญเมตตาไม่ขึ้น และจะเจริญได้ยากมาก

การพิจารณาให้เห็นโทษของความโกรธและอานิสงส์ของความอดทนนั้น เป็นการคิดพิจารณาอย่างจริงใจไม่เสแสร้ง จะเป็นโทษหรืออานิสงส์ข้อใด ด้านใดก็ได้ทั้งนั้นไม่ได้บังคับ ขอเพียงให้รู้ซึ้งเข้าไปในจิตใจ ให้จิตรู้เห็นโทษและอานิสงส์นั้นในสภาวจิตจริง ๆ จนพอใจที่จะละความโกรธ และยินดียิ่งที่จะอดทนต่อสิ่งต่าง ๆ

ในการฝึกจริง ๆ แล้วผู้ฝึกจะต้องเตรียมตัวเตรียมใจอยู่ ๗ วัน ภายใน ๗ วันนั้นห้ามโกรธตนเองและผู้อื่น ในบางกรณีมีการโกรธผู้อื่นเล็กน้อยตามความเคยชินนั้นอาจมีข้อผ่อนผันได้บ้าง แต่สำหรับตนเองนั้นห้ามเด็ดขาด เพราะเป็นฐานแรก แดนแรกที่จะตั้งเมตตาไว้

บุคคล ๔ จำพวก ที่ห้ามแผ่เมตตาไปให้ในขึ้นแรกปฏิบัติ คือ

ผู้ที่รักยิ่ง

๒. ผู้เป็นกลาง คือ ไม่รัก ไม่ชัง

๓. เพศตรงข้าม

๔. ผู้เป็นเวร

เหตุผลที่ห้ามไว้นั้น เพราะว่าบุคคลเหล่านี้จะตั้งเมตตาไว้ได้ยากมาก และจะไม่ทำให้เกิดสมาธิ

นอกจากบุคคลดังกล่าวแล้วในขึ้นแรกห้ามแผ่เมตตาให้คนตายและสัตว์เดรัจฉาน

แผ่เมตตา

ผู้ปฏิบัติพึงแพร่เมตตาให้แก่บุคคลอันเป็นแดนทั้ง ๔ คือ

แดนที่ ๑ คือ ตนเอง

แดนที่ ๒ คือ ผู้เป็นที่รัก

แดนที่ ๓ คือ ผู้เป็นกลาง คือ ไม่รักไม่ชัง

แดนที่ ๔ คือ ผู้เป็นเวร

การแผ่เมตตานั้น ท่านย้ำว่า จงทำจิตใจให้อ่อนโยน เพราะความเมตตานั้น คือ ความอ่อนโยนด้วยความรัก ความปรารถนาดีอันจริงใจ ซึ่งใสสะอาดบริสุทธิ์ ที่มีต่อตนเอง ไม่เจือด้วยความใคร่และความลำเอียงใด ๆ โดยน้อมพิจารณาว่าตัวเรานี้เป็นผู้ที่ยังอยู่ในห้วงทุกข์ คือ เกิด แก่ เจ็บ และตาย ถูกไฟแห่ง ราคะ โทสะ และโมหะ เผาผลาญ ตกอยู่ในกระแสแห่งความไม่เที่ยง เป็นทุกข์และไร้แก่นสารตัวตน ยังถูกอวิชชาครอบงำ ไม่ได้รู้แจ้งและถึงความพ้นทุกข์ จากนั้นก็กระทำจิตอ่อนโยนตั้งเมตตาจิตลงในตนเองว่า ขอให้เราพ้นจากความทุกข์ ขอให้เรามีความสุข รักษาตนให้พ้นภัย ฯลฯ

ขอทำความเข้าใจว่า การนึกนี้ไม่ได้กำหนดหรือบังคับว่าจะใช้ข้อความหรือบริกรรมคำหนึ่งคำใด ขอแต่ให้มีเจตนาอันอ่อนโยนนุ่มนวลและจริงใจ เป็นการน้อมจิตคิดรำลึกจิตใจยังอยู่ในสภาพมีความคิดแต่น้อมรำลึกเข้าสู่ตนเอง กระทำบ่อย ๆ ประคองสภาวจิตไว้นาน ๆ และข้อสำคัญจงจดจำสภาพจิตที่รู้สึกต่อตนเองในขณะนั้นไว้ให้ดี

การแผ่เมตตาให้แก่ผู้ที่เป็นที่รักในขั้นต่อมานั้น พีงระลึกว่าตนเองมีความทุกข์และปราถนาความสุขเป็นธรรมดาฉันใด ผู้อื่นก็เป็นฉันนั้น แล้วก็น้อมจิตแผ่สภาวะเมตตาที่มีต่อตนเองแล้วนั้นไปยังผู้ที่เป็นที่รัก เป็นการน้อมเอาสภาวจิตที่เคยตั้งเมตตาในตน อย่างที่เคยกระทำจนเคยตั้งเมตตาในตน อย่างที่เคยกระทำจนชำนาญแล้วนั้น ไปตั้งเมตตาไว้ในผู้เป็นที่รักที่ตนได้เลือกเอาไว้แล้วคนหนึ่ง ซึ่งไม่เป็นบุคคลต้องห้ามทั้ง ๔ จำพวกที่กล่าวแล้ว ข้อสำคัญจงสังเกตสภาวจิตในขณะที่ตั้งเมตตาไว้นั้นว่าเป็นอย่างไร แล้วจดจำไว้ แล้วนำมาเทียบเคียงกับสภาวจิตที่รู้สึกในขณะที่ตั้งเมตตาไว้ในตน หากสภาวจิตนั้นเหมือนกันเท่ากัน ก็แสดงว่าผู้ปฏิบัติได้เจริญเมตตาผ่านแดนทั้ง ๓ นั้นได้แล้ว ควรกระทำบ่อย ๆ ให้ชำนาญ ให้พื้นฐานระดับนี้มั่นคงเพื่อตั้งเมตตาในแดนต่อ ๆ ไป

แต่ถ้าหากสำรวจดูสภาวจิตของตนเองในสองแดนนี้ไม่เท่ากันไม่เหมือนกันถึงกลับมาตั้งต้นใหม่ คือ ตั้งเมตตาลงในตนเองให้ดีก่อนแล้วจึงไปตั้งเมตตาลงในผู้ที่ตนรักใหม่ ทำจนกระทั่งให้ได้สภาวจิตที่เท่ากันเหมือนกันจนมั่นใจแล้วค่อยตั้งเมตตาลงในแดนที่ ๓ และที่ ๔ ต่อไปในลักษณะเดียวกัน ถ้าตั้งไม่ได้ก็ให้มาเริ่มต้นที่แดน ๑

เช่น ขอให้พิจารณาสังเกตสภาวจิตของตนเองอย่างละเอียดเพราะเมตตาจิตนั้นเป็นความอ่อนโยน จริงใจ รักและปรารถนาดีที่มิได้เจือด้วยความใคร่ เห็นความทุกข์ และปรารถนาสุขที่เป็นไปโดยยุติธรรมจริง ๆ หากยังไม่แน่ใจตนเอง ก็ขอให้ไปรับคำแนะนำและส่งอารมณ์กับผู้ฝึกสอน

การทำสีมสัมเภท

เป็นการทำจิตให้เจือไปในแดนทั้ง ๔ ให้มีความรู้สึกเหมือนกัน เท่ากัน คือ ไม่โน้มเอียงไปในแดนหนึ่งแดนใด ในขั้นนี้จิตจะล่วงเข้าสู่อุปจารฌานเองโดยอัตโนมัติและต่อจากนั้นก็จะสามารถปฏิบัติต่อไปให้ถึงอัปปนาฌานได้

ขั้นต่อไปของการฝึกให้เป็นเมตตาเจโตวิมุติ หรืออัปปมัญญาพรหมวิหารโดยสมบูรณ์นั้น ไม่เหมาะที่จะแนะนำล่วงหน้าไปก่อน เพราะอาจมีผลเสียต่อผู้ปฏิบัติ

การยกจิตเข้าสู่ภูมิวิปัสสนา

ข้อดีของการฝึกอัปปมัญญาพรหมวิหารอย่างหนึ่ง คือ ผู้ปฏิบัติต้องสังเกตสภาวจิตของตนเองตลอดเวลาที่จะผ่านในแต่ละขั้นตอน จึงเป็นความเคยชินที่เอื้อต่อการที่จะเฝ้าดูจิตของตนเองให้ละเอียดขึ้นทุกขณะให้ได้ตลอดสาย ลดการถืออัตตาตัวตนลง สามารถจะเอาสติมาพิจารณา กาย เวทนา จิต และธรรม ตามหลักมหาสติปัฎฐาน ๔ เพื่อเข้าหนทางแห่งอริยมรรค เข้าถึงซึ่งนิพพานได้ แต่สิ่งที่ควรระวังอย่างยิ่ง คือ ความหลงอยู่ในความสุขอันละเอียดอ่อนอันเป็นทิพย์นั้น เป็นสุขที่มิอาจพรรณนาได้ ทำให้พอใจอยู่แต่พรหมโลกและเทวโล สูญเสียโอกาสที่จะก้าวสู่หนทางพ้นทุกข์ที่พระพุทธองค์ทรงหยิบยื่นให้ ฉะนั้น หากผู้ปฏิบัติเจริญเมตตาควบคู่ไปกับวิปัสสนาแล้ว ก็จะเป็นผลดีแก่ผู้ปฏิบัติเอง

แผนภูมิขั้นตอนการเจริญอัปปมัญญาพรหมวิหาร

- เมตตาพรหมวิหาร

อัปปมัญญาพรหมวิหาร - กรุณาพรหมวิหาร

- มุทิตาพรหมวิหาร

- อุเบกขาพรหมวิหาร

รักษาศีล ๕ เป็นอย่างต่ำ(เน้นข้อ ๓ และ ๔)

ตัดปลิโพธิ ๑๐ (เน้นปลิโพธิภายนอก ภายใน)

พิจารณาให้เห็นโทษในโทสะ(ความโกรธ)

พิจารณาให้เห็นอานิสงส์ในขันติ(ความอดทน)

- ผู้เป็นที่รักยิ่ง

บุคคลที่ห้ามแผ่เมตตาในขั้นแรก - ผู้เป็นกลาง คือ ไม่รัก ไม่ชัง

- เพศตรงข้าม

- ผู้เป็นเวร

*เมตตาตน (แดน ๑)

*เมตตาผู้เป็นที่รัก (แดน ๒)

*เมตตาผู้ไม่รักไม่ชัง (แดน ๓)

*เมตตาผู้เป็นเวร (๔)

*กระทำสีมสัมเภท (ทำจิตเมตตาให้เจือไปในแดนทั้ง ๔ ให้สภาวจิตเหมือนกัน เท่ากันในบุคคลในแดนทั้ง ๔)

*อุปจารฌาน

*อัปปนาฌาน

*ตั้งเมตตาไว้ไม่ได้ให้ย้อนกลับแล้วเริ่มมาทีละขั้นใหม่

เมตตาเจโตวิมุติ ธรรมะของอดีตพระอริยคุณาการ(เส็ง ปุสฺโส)

วิธีเจริญเมตตา

ปลูกเมตตา ความรู้สึกรักอย่างเป็นธรรมในสรรพสัตว์ ให้เกิดขึ้นในจิต หายความรู้สึกเป็นศัตรูกับใคร ๆ แล้วแผ่กระแสจิตเช่นนั้นออกไปตามทิศ ๔ และเบื้องบนเบื้องล่าง ในวงแคบก่อน แล้วค่อยขยายออกไป จนครอบคลุมโลกทั้งสิ้น วิธีนี้จะทำให้จิตใจปลอดโปร่ง เป็นสมาธิขึ้นฌานที่เรียกว่า เจโตวิมุติ

เจโตวิมุติ ที่เกิดจากการเจริญเมตตา พระผู้มีพระภาคตรัสว่าอาศัยเจริญวิปัสสนาได้ และตรัสว่า เป็นธรรมมีอิทธิพลล้างกรรมบาปได้ด้วย เว้นแต่กรรมที่กำลังอำนวยผลอยู่ ยังไม่สิ้นกำลัง ยังไม่สลายตัว (อโหสิกรรม) กรรมนั้นยังจะต้องอำนวยผลสืบไป จนกว่าจะสิ้นกำลัง สลายตัวไป (เป็นอโหสิกรรม)

ในสูตรนี้ ทรงแสดงแต่เมตตาพอเป็นตัวอย่าง ส่วนกรุณา มุทิตา และอุเบกขา ก็มีวิธีปฏิบัติแบบเดียวกันกับเมตตา และอำนวยผลให้พ้นภัยเวรเช่นเดียวกัน

ทิศ

บูรพา ทักษิณ ปัจฉิม อุดร

อาคเนย์ หรดี พายัพ อีสาน ล่าง บน

ตอบปัญหาธรรมะ โดย ท่านพระอาจารย์สมชาย

+ พระนักศึกษาบางรูป ขณะเดินจงกรมได้เห็นร่างกระดูกของตนเอง จึงเกิดกลัวขึ้นมาต้องหยุดการปฏิบัติ อย่างนี้จะแก้อย่างไรครับ

- เห็นอะไรก็แล้วแต่ เราต้องทำความเข้าใจแต่เบื้องต้นว่า เราจะรู้เห็นอะไรก็สักแต่ว่ารู้ว่าเห็น เราต้องตั้งปัญหาถามตัวเอง และบอกตนเองไว้ก่อนว่า เราเห็นอะไร ก็ถือว่าเป็น "อุคหนิมิต" เท่านั้น ขอให้บอกตนเองไว้ก่อน ผมเองเคยได้ประสบอย่างนี้ คือ ผมนั่ง ๆ ไปเห็นร่างเป็นกระดูกนอนหงาย อ้าปาก ผมถามตนเองว่า เอ..กระดูกนั้นเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายนะ กระดูกนั้นก็เป็นรูปร่างของผู้หญิงไป ทีนี้ก็คิดต่อไปว่า ถ้ากระดูกนั้นเป็นรูปผู้หญิง เผื่อมันมากอดเราจะทำอย่างไร (มันคิดอย่างไรก็เป็นอย่างนั้นแหละครับ) กระดูกก็ลุกโงนเงนขึ้นมาเลยครับ เอ๊...เห็นทีมันจะเอาเราจริง ๆ มันจะมากอดเราจริง ๆ ละกระมัง คราวนี้มันวิ่งเข้ามากอดจริง ๆ เลยครับ (ผมตกใจเกือบจะวิ่งแล้วครับ) เอ๊...นี่มันจะกัดเราหรือไง มันก็กัดใบหูดังกึบ ๆ ๆ แหม..ผมจะไปแล้ว ผมจะวิ่งให้ได้เลยครับ แต่ผมทำความเข้าใจไว้แล้วว่า นี่มัน "อุคหนิมิต" เท่านั้น (หวนระลึกถึงที่ผมตั้งใจไว้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้เห็นมันเพียงแค่อุคหนิมิตเท่านั้น ไม่ใช่เรื่องจริง ผมนึกได้แค่นี้แล้วมันก็สงบ) ที่มันปล้ำผม มันก็ปล้ำอยู่นั่นแหละ ที่มันกัดหู มันก็กัดอยู่นั่นแหละ เมื่อผมรู้เท่าทันมันโดยคิดว่าเป็นเรื่องอุคหนิมิต มันก็หยุด หยุดแล้วก็เลิกกลับไปนอนเท่านั้นแหละ ผมก็ไม่ได้สนใจ ผมก็พยายามคุมจิตของผมอย่างเดียว จิตของผมจะไปคิดเรื่องอะไร ผมก็บังคับใจ หยุดจิตไม่เอา อำนาจของผมมันพอสำหรับตัวเองอยู่แล้ว มันก็ไม่ไปต่อสิ่งใด ทุกสิ่งทุกอย่างมันก็อยู่ในความสงบ ฉะนั้น ก่อนทำสมาธิต้องทำความรู้เท่าไว้ก่อนว่า เราทำสมาธิก็เป็นอันแล้วกัน บัดนี้อะไรทั้งหมดที่เกิดขึ้นเป็นอุคหนิมิตเท่านั้น เราไม่สนใจ เราต้องการจะประคองจิตของเราให้รู้ในจิตของเราว่าชอบในทางอานาปา ลมหายใจเข้าออกเท่านั้น สิ่งทั้งปวงจะไม่สนใจเด็ดขาด เราจะรับรู้เฉพาะอย่างนี้อย่างเดียว บังคับให้อยู่ในสิ่งที่เราต้องการ แจ๋ว..อยู่ตลอดเวลาเป็นอันใช้ได้ อันนี้ถึงจะถูกครับ

+ บางท่านสงสัยว่าอุคหนิมิตมันเกิดจากอะไร ทำไมมันจึงเกิดปรากฎขึ้นมาได้ บางท่านก็กลัวกัน บางท่านเคยนั่งเกิดนิมิตขึ้นก็กลัว ไม่อยากทำต่อ มันเกิดจากอะไรนั้นของมันจริง หรือไม่จริงแค่ไหนเพียงใดครับ

- มันก็มีหลายแบบเหมือนกันคือ ระหว่างในตัวขณิกสมาธิ (สมาธิชั่วขณะ) ในระหว่างช่วง มันมีลักษณะของจิตอยู่ ๓ ลักษณะด้วยกันคือ ลักษณะธรรมดา ก็คือธรรมดาลักษณะหนึ่ง มันจะอยู่ในลักษณะครึ่ง ๆ สำนึก อันนี้พอนึกถึงอะไร เห็นอันนั้นทันที เราจะสันนิษฐานได้ในระหว่างเรากำลังนอนหลับฝัน ถ้าหลับสนิทก็จะไม่ฝัน ครึ่งหลับครึ่งตื่นสะลึมสะลือ กำลังเคลิ้ม ๆ นี่แหละครับฝันแน่ ถ้าตื่นปกติจะไม่ฝัน คิดอะไรก็ไม่ฝันฉันใด ในระหว่างทำสมาธิที่จะเข้าไปสู่ขณิกสมาธินะครับ อย่าลืมว่าครึ่ง ๆ สำนักของจิต ในระหว่างนี้ไม่ใช่ว่าเหนือสำนึกโดยตรงครับ ทีนี้เราพูดแบบไม่ใช่สำนึกแบบฌาน เราพูดเฉพาะแบบในระหว่างจวนจะเข้าสู่ขณิกะ ถ้าเข้าไปถึงขณิกะเข้าไปแล้ว มันเป็นอีกแบบหนึ่งนะครับ ถ้าอยู่ในระหว่างจะเข้าแหล่ไม่เข้าแหล่ สติมันอาจจะขาด ๆ นิด ๆ นึกไม่ได้ นึกอะไรอันนั้นขึ้นมาทันทีเลย เพราะฉะนั้นที่ว่าเหนือสำนึกจริง ๆ มันก็ไม่เห็น ลงไปในระหว่างกลาง ๆ ถ้าเข้าไปถึงจุดขณิกะจริง ๆ มีการดูจริง ๆ นะครับ ไม่เป็น ถ้าหากทุกท่านทำความเข้าใจเอาไว้ว่า นี่เราทำสมาธิทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดเป็นอุคหนิมิตก็เป็นอันแล้วกันไป สรุปแล้วง่าย ๆ มันก็เหมือนกันกับมโนภาพนั่นเองแหละครับ มันเป็นขึ้นมาเอง

+ เป็นอันว่าถ้าหากอุคหนิมิตเกิดขึ้นมา เราก็อย่าไปกลัว เพราะว่าฝันขึ้นมาเอง มันเป็นตัวเป็นตนขึ้นมา เพราะฉะนั้นเราอย่างไปสนใจมัน มีนักศึกษาบางท่านมีประสบการณ์บางอย่างเกิดขึ้นคือ เมื่อสมัยเป็ฯสามเณร ท่านบอกว่าเคยนั่งได้จนตลอดรุ่งและบอกว่ามีความสุขมาก เคยเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง แต่พอมาคราวนี้จะให้ได้แบบนั้นอีกมันก็ไม่ได้ ทำอย่างไรมันก็ไม่ได้แบบที่เคยได้มา มันเป็นเพราะเหตุใดครับ

- อ้อ... ถ้ามีความอยากอยู่มันไม่ได้หรอกครับ ทิ้งความอยากเสียก่อน ประคองจิตของเราให้ได้รับรู้อยู่ในจิตที่ตัวของเรา อย่าไปมัวมองผลของสมาธิ ผู้ที่ทำสมาธิ ถ้าไปพบผลแล้วโดยมากมักจะประกอบผล และพะวงอยู่ในผลตลอดเวลา แทนที่จะประกอบเหตุกลับไม่ แท้ที่จริงเราก็เข้าสู่ผลอันนั้นเราต้องประกอบเหตุ มันถึงจะเข้าไปสู่ผล เพราะฉะนั้นเราเลิกจากการมองผล กลับมามองเหตุ เหตุนั้นอยู่ตรงไหน เอาเถอะครับ กำหนดลมหายใจเข้าออก มีบริกรรมภาวนาประกอบเอาจุดที่ตั้งก็ตรงปลายจมูก กำหนด พุทโธ พุทโธ โดยไม่ต้องมองหรือคำนึงถึงผลที่เคยได้ประสบมา แล้วเมื่อเรากำหนดพุทโธ พุทโธ จนจิตของเราไม่ไปต่ออารมณ์สัญญาภายนอก มันก็จะน้อมเข้าสู่ความสงบได้ง่ายสบายมาก อย่างพวกผมทำนะครับ ผลของสมาธิไม่คำนึง อย่างผมนี้อะไรจะเกิดก็แล้วแต่ ไม่มีสนใจ จนสามารถบังคับให้รับรู้จนถึงจุดที่เราจะต้องการ แจ๋ว...แล้วการแจ๋วนี้จะไม่มีการกด ไม่มีการดัน ไม่มีมึนงงตรงไหนสักอย่าง แต่งได้ถูกต้องหมด กำหนดเป็นอันว่ากำหนดรับรู้อยู่ที่ปลายจมูกแจ๋วอยู่ตลอดเวลา จนถึงขนาดนอน บางทีนะทั้งคืนจะไม่ให้หลับก็ได้ จะแจ๋วและมีลมหายใจเข้าออกปกติ รับรู้อยู่ตลอดเวลา ไม่มีหรี่ลงหรอกครับ พอตอนเช้าขึ้นมา ลืมตาขึ้นมาก็ไม่มึนงง โล่ง...ธรรมดา แต่เรารับรู้ได้ว่าไม่หลับแต่อย่างใด เพราะแจ๋วอยู่ตลอดเวลา ต่อจากนั้น การน้อมเข้าสู่ฐษนแห่งความสงบก็๗ะง่าย เพราะว่าจิตของเราอยู่ในอำนาจของตัวบังคับของตัวคุ้มครอง ที่เราเรียกว่า "ตปธรรม" นั้นสมบูรณ์แล้ว การน้อมเข้าสู่ฐานแห่งความสงบนั้นมันง่าย ทีนี้ ลักษณะกาน้อมเข้าสู่ฐานแห่งความสงบ เราก็ย่อมรู้นะครับ พออารมณ์กลมกล่อมแล้วก็จะมองดู รู้สึกว่ามีลักษณะการลงของจิตมีขึ้นมาทันที มีลักษณะ...วูบ...ลงไป ลักษณะเหมือนอย่างลงลิฟต์ครับ ถ้าสังเกตุดี ๆ มีลักษณะเหมือนลงลิฟต์

ผมขอเล่าอย่างเปิดเผยตามที่ได้ประสบการณ์มานะครับ

ลงถึงอันดับที่ ๑ มีลักษณะ...อิ่ม...มันอิ่มเต็มในหัวอกหัวใจ มันอิ่มจริง ๆ อิ่ม...อย่างบอกไม่ถูก จะไม่เหมือนอิ่มข้าว มันอิ่มเต็ม ถึงแม้ว่าเราจะออกจากสมาธิไปแล้วก็ตาม การเดินเหินก็จะไม่เหมือนบุคคลธรรมดาเป็นบุคคลสมบูรณ์...สุขุม...หนักแน่น...การก้าวขา...การมองซ้าย...แลขวา...สุขุม

หากเข้าไปถึงอันดับที่ ๒ นะครับ มันจะมีความเมตตาสงสารนึกถึงหมู่คณะ เกิดมาเสียชาติเปล่า ๆ ได้มานั่งเสวยผลของสมาธิก็ยังดีอะไรเหล่านี้ นึกน้อยลงไปแล้วน้ำตาก็จะไหลครับ แต่อยู่ในอันดับนี้ไม่อยากคุยกับใคร ใครจะมาคุยด้วยก็ไม่เอา รำคาญ ชอบหลบไปนั่งอยู่คนเดียว เคลิ้ม ๆ

ถ้าเข้าไปถึงอันดับที่ ๓ ลงไป จะรู้สึกว่ามัน...เบา...เหมือนจะเหาะจะลอยอย่างนั้นแหละ เราจะนั่งทั้งคืนมันไม่รู้สึกเหนื่อยหรอกครับเหมือน ๆ กับมันลอยอยู่เหนืออาสนะ นั่นแหละครับไม่มีกดดันเลย เมื่อเรานั่งสมาธิทั้งคืน ลืมตาขึ้นมาลุกขึ้นเดินไปไหนมาไหนไม่มีเป็นเหน็บหรอกครับ ก็ปกติธรรมดา

ถ้าเราเข้าไปสู่อันดับที่ ๔ รู้สึกมัน...เย็นแผ่ว ๆ ...เย็น...เหมือนได้ยาทิพย์มาชะโลม รู้สึกมันเย็นแผ่ว ๆ อันนี้เอิบอิ่มมาก อดข้าวอดปลาได้เป็นเดือน ๆ ก็ไม่ผอม อันนี้แปลกมาก แปลกจริง ๆ แล้วมีกำลังผิดคนธรรมดา การทำงานทำการอะไรแปลกมาก

ถ้าเราสามารถประคองขึ้นอันดับที่ ๕ ได้ เหมือนได้ยาทิพย์ชะโลมทั้งตัว มัน ...เย็นซาบซ่านไปทั้งตัว ถ้าคนเป็นโรคประสาท ผมเชื่อว่าถ้าเข้าไปสู่อันดับนี้สัก ๕ นาที แล้วถอนออกมาผมว่าพอแล้ว เหมือนถูกชุบประสาท อันนี้ชักจะเริ่มมีสติปัญญา เริ่มมีปัญญา มีความทรงจำดี เข้าใจอะไรถูกต้องขึ้นเป็นลำดับแล้ว

ถ้าอันดับที่ ๖ นะครับ อันดับนี้รู้สึกว่ามันแบบโอภาส มันโปร่งโล่งไปหมดตลอดวิถีประสาท คล้าย ๆ มันมีอุคหนิมิตประกอบ เหมือนกับแสงสีออนขาวโพลน เหมือน ๆ หมอกโล่งไปหมด นี่เป็นลักษณะของกามภพ เราเข้าไปเสวยแค่นี้ก็พอแล้ว เราเสวยแค่ ๖ ลักษณะ ในอันดับสมาธิ ๓ ฐาน อันนี้เรียกว่าพูดตามประสบการณ์ ไม่ได้พูดตามหลักปริยัติที่ว่า ขณิกะ อุปจาระ อัปปนา มีลักษณะเช่นนั้น ๆ ผมไม่ได้พูดตามนั้น ตามลักษณะที่เข้าไปแต่ละจุด มันมี ๓ จุดใหญ่ ๆ แต่มี ๖ ลักษณะด้วยกัน

อันนี้ขอให้พยายามมองเหตุ อย่าไปพยายามมองผล อย่าไปมองหาผล อย่าไปจ้องหาผล ให้พยายามมองเหตุ ประกอบเหตุ ผลนั้นจะปรากฎเอง ถ้าไปมองผล หรือว่าต้องการอยู่ในผลแล้วจะไม่เป็นเลยเด็ดขาด ถึงแม้ลักษณะมันทำท่าจะเป็น พอวาบเดียวก็หายแล้ว มันเป็นอย่างนี้ครับ

+ มันมีลักษณะบางอย่างที่เกิดขึ้นกับผู้บำเพ็ญใหม่ ๆ เช่น เมื่อนั่ง ๆ ไปเกิดอาการคันตามใบหน้า เหมือนกันมีไร มีมด มีแมลงมาไต่ตอม พอปัดดูก็ไม่มี แล้วก็เหตุการณ์แบบนี้จะเป็นอยู่บ่อย ๆ จะเกิดขึ้นกับบุคคลที่บำเพ็ญใหม่ ๆ มันจะหายไปได้อย่างไร

- อันนี้ไม่เห็นเป็นไรนี่ครับ เราทำความรู้เท่าทันหน่อยหนึ่งเท่านั้นเองครับ ก็มันเป็นเพียงแค่ความรู้สึกเป็นความเข้าใจของเราเอง มันเป็นกับผมบ่อย ๆ บางทีมันก็เหมือนกับยุงมากัดที่ปาก นี่ในขณะที่ทำใหม่ ๆ นะครับ เหมือน ๆ กับมันกัดมันแทงเข้าไปจริง ๆ พอเราลองเอามือลูบก็ไม่มีอะไร บางทีเหมือนกับมดมันขึ้นมาลอง ๆ ดูซิว่ามันจะไต่ไปแค่ไหน เหมือนกับมันกัดไปหมดทั้งตัวพอลืมตาขึ้นมาดูก็ไม่มี มันเป็นเพียงความรู้สึกของเรา นึกอะไรขึ้นมาก็เป็นอย่างนั้นไปเลย เพราะฉะนั้น ในระหว่างที่เราสร้างอำนาจของสมาธินี้ ซึ่งเป็นตัวบังคับขึ้นมาพอสมควรแล้ว เรานึกอย่างไหนมันก็อย่างนั้นนึกว่ามดกัดก็กัด นึกถึงภาพเป็นภาพ นึกเป็นอย่างไรก็อย่างนั้นแหละครับ ของมันนึกได้เพราะฉะนั้นเราทำความรู้เท่าที่ว่าอันนี้เป็นเพียงความรู้สึกนึกคิดไม่ใช่เรื่องจริง มันก็หมดไป

+ มันเป็นอยู่อย่างนี้ สำหรับผู้ฝึกใหม่ ๆ จะเกิดมาก ๆ พอนั่งหลับตาภาวนา บางทีได้ ๓ นาที ใจก็ไปอีกแล้ว พอดึงกลับมาได้ มันก็ไปอีกแล้ว ทำอย่างนี้บ่อยที่สุด จะมีวิธีใด อย่างไร จึงจะหยุดได้ไว และจะให้มันหยุดอยู่กับที่ได้นาน ๆ

- อันนี้ก็มีอยู่ว่า โดยมากผู้ปฏิบัติก็มักจะมีความโมโหเข้าประกอบ พอจิตมันไป เราก็ดึงกลับมา มันก็ยังไปอีก มาอีก เป็นอย่างนี้บ่อย ๆ มันก็ชักจะมีอารมณืหงุดหงิด อาการหงุดหงิดชักจะกระแทกกันละทีนี้ ยิ่งเอาเลยชักจะแห เขาเรียกว่า "แห" ภาษาเมืองจันทบุรีเขาเรียกว่า "แห" กับภาษาอีสานแหใหญ่เลยครับ "จับไม่อยู่" เพราะฉะนั้นการทำสมาธิต้องนิ่มนวล ถ้าเรากำหนดรู้ว่านี่เป็นสมาธิ เราจะทำใจดี ๆ ไว้ เอาละทีนี้กำหนดใหม่ ทำใจเย็น ๆ สบาย ๆ อย่าให้มีอารมณ์โมโหเข้ามาประกอบ ง่ายกว่าอะไรทั้งหมด แล้วการกำหนดนั้นเรากำหนดแบบที่เรียกว่า อย่าไปคิด อย่าไปค้น รับรู้เฉย ๆ ก็จะสบายมาก สบายโปร่ง และก็พยายามสังเกตุอยู่เรื่อย ๆ

เมื่อเรากำหนดที่ลมหายใจเข้าออก ถ้าเรามีอาการเพ่งหรือกดดันตัวเอง เราจะมีความรู้สึกหลายอย่าง เช่น มีอาการมึนชา งงศีรษะ อันนี้อย่าปล่อยเด็ดขาด เดี๋ยวได้เรื่อง ให้กำหนดใหม่ เพียงรับรู้เฉย ๆ ไม่เพ่ง ไม่กดดัน จะสบายโล่ง หรือกำหนดดไปแล้ว คอมันแห้ง ไม่มีน้ำลาย จะไออยู่ท่าเดียว หรือกำหนดแล้วจะมีน้ำลายสอ ไหลไม่หยุด ไหลอยู่เรื่อย ๆ อยู่ทั้งปี เพราะไปกดต่อมน้ำลายอันนี้ไม่ได้

ในเมื่อกำหนดลงไปแล้ว จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติ โล่งสบาย อันนั้นถึงแม้ประคองจิต ก็ดีกว่าอะไรทั้งหมด ง่าย ถ้าเรามีการเก็บกดดัน ไม่สบายตั้งแต่เริ่มต้น เราก็เริ่มบังคับจิตของตัวเอง ตั้งแต่เริ่มต้นทำให้ถูกทำให้นิ่มนวล อย่าให้มีอารมณ์โมโห

แล้วอย่าให้มีอาการเก็บหรือกดดันอย่างเดียว อันนี้จำไว้ให้ดี

+ นั้นเป็นวิธีแยบคายอันหนึ่ง เพราะฉะนั้นท่านใดหรือนักศึกษารูปใดเกิดแบบนี้เข้าก็ทดลองดู เพื่อว่าจะได้ผล แต่ทีนี้สำหรับผู้ปฏิบัติใหม่ ๆ ยังมีอีกหลายเรื่องสำหรับการปฏิบัติของตนก็ว่าต้องการส่วนนี้ แต่ว่ายังไม่มีความชำนาญโดยเฉพาะการเดินจงกรม นั่งสมาธิ บางด่านก็เดินอย่างเดียว ทางที่ดีก็ควรทำอย่างไร

- อันนี้ถ้าจะว่าในทางที่ดี ตามที่ผมได้ศึกษามาจาก หลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระ มันก็อยู่ที่สุขภาพเหมือนกัน แต่ในทางที่ดีแล้วควรจะให้สม่ำเสมอกัน เดิน นั่ง ยืน นอน การนอนทำสมาธิ ยืนทำสมาธิ นั่งทำสมาธิ หรือเดินจงกรมนี้ ผมก็เชื่อว่าครูบาอาจารย์ทั้งหลายเหล่านี้ ท่านต้องเข้าใจ แต่เราต้องประกอบให้พร้อมทั้ง ๔ อิริยาบถนี้ให้สม่ำเสมอกัน แต่มันก็แปลกอยู่นิดหนึ่ง โดยมากครูบาอาจารย์ก็มักจะสอนแบบเหมือน ๆ กัน

โดยเฉพาะหลวงปู่มั่นแล้ว ตามที่ผมได้ศึกษามา ท่านให้สัมผัสรับรู้ในการก้าวเหยียบนะครับ สมมติว่านั่ง เรากำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูก ยืนก็เหมือนกัน นอนก็เหมือนกัน แต่เดินให้เปลี่ยนสัมผัสในการเดินก้าวเหยียบ ก้าวขาขวา พุท ขาซ้าย โธ

สมมติทางเดินจงกรมว่า ถ้าเราจะเดินไปหาตู้ (ประมาณ ๒๕ ก้าว) เราก็หันหน้าตรง ๆ เดินบริกรรม พุทโธ ๆ ๆ การวางมือก็วางมือซ้ายก่อน โดยคว่ำลง แล้วเอามือขวาวางทับ แล้วก็เดินอย่าเร็วนัก อย่าช้านักพอก้าวไปสุดปลายทางก็หยุดสักหน่อยหนึ่ง แล้วก็หมุนตัวไปทางขวา ไม่ใช่ทางซ้าย

พอหันกลับมาตรงก็ก้าวขาขวา อีก พุท ขาซ้าย โธ กำหนดพุทโธ ๆ ๆ จนกระทั่งถึงสุดทางนี้ ก็ยืนนิดหนึ่ง แล้วก็หันกลับไปกลับมาทอดสายตาไกลนักก็ไม่ดี ใกล้นักก็ไม่ดี อันนี้มันอยู่ที่ประสาท จะไปกำหนดอยู่ตายตัวไม่ได้ ต้องให้พอดี ๆ เราก็มองสายตาลงแล้วก็เดินไปเรื่อย ๆ อย่าหลับตาเดิน แต่บางองค์ท่านก็เดินหลับตาแล้วก็เป๋ไปเป๋มาก็ไม่ดีครับ บางท่านบางองค์ขึงด้ายสายสิญจน์เลยก็มีครับ พอหลับตา มือก็รูดไปตามด้ายสายสิญจน์ อันนี้ไม่ได้นะครับ มันก็ต้องลืมตาอยู่นั่นเองและก็กำหนดพุทโธ ๆ เหมือนกัน

ทีนี้อย่าว่าแต่เพียงเดินเลยครับ แม้แต่นั่งก็เหมือนกัน นั่งสมาธิไม่ใช่นั่งจนตัวตรงเลยทีเดียว นั่งตรงทีเดียวนั้นก็ไม่ดี ต้องหย่อน เอาแค่พอดี ๆ ที่สุด เอาแค่สบายที่สุด สบายแค่ไหนก็เอาแค่นั้นแหละครับกำหนดลมหายใจเข้าออกพอดี ๆ อีก ไม่หนักไม่เบาเกินไป เพราะการทำสมาธิ ไม่ใช่วิธีเก็บหรหือกดดัน ไม่ใช่วิธีบังคับ เป็นวิธีที่ทำด้วยความแยบคาย อยู่ในลักษณะสบาย ๆ ไม่มีกดดันในการทำสมาธิ

เพราะฉะนั้นเมื่อเราเป็นสมาธิแล้ว เป็นอุบายที่เราจะแก้จิตของเราในระหว่างที่เราจะลุ่มหลงด้วยผลของสมาธิก็ดี ในระหว่างที่เห็นผลของสมาธิแล้ว จะนำออกใช้ภายนอก เพื่อฤทธิ์เดช เพื่ออวดอ้างต่าง ๆ เพื่อลาภสักการะ เพื่อคำสรรเสริญเยินยอก็ดี เพื่ออุบายวิธีที่จะเป็นตัวแทนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เป็นประมุขประธาน เป็นความคิดที่อยู่ในอำนาจกิเลส มันก็จะมีความคิดอย่างนี้ พอได้คิดอย่างนี้ก็เอาละครับทีนี้ เห็นสิ่งมหัศจรรย์ จะแสดงออก อย่างนี้ก็ต้องรีบแก้ไขหักห้ามทั้งหมด

เราต้องสังเกตความรู้จักหักห้ามของตัวเองว่า เรามีนิสัยอย่างไรสมควรที่เราจะทำอะไรก่อนแค่ไหน ขนาดไหน ประโยชน์นั้นมันไม่ใช่ของที่เราจะต้องทำก่อน เราจะต้องห้ามปรามเสมอ มันถึงจะไม่ฟุ้งเฟ้อไปตามผลของสมาธิ เราก็พร้อมที่เป็นไปได้ทุกอย่าง อันนี้มันถึงจะทำไปได้ตลอด

+ คือว่าบางท่านเร่งความเพียรมาก ๆ สมมติว่าผู้ฝึกใหม่ ๆ คืออยากทราบว่าจะต้องใช้เวลาพักผ่อนประมาณเท่าใดจึงจะเหมาะ

- อันนี้ก็อยู่ที่สุขภาพ ถ้าสุขภาพอยู่ในลักษณะปกติดี กลางคืน ๔ ชั่วโมงกำลังดี ถ้าหากว่าสมาธิดีแล้วทั้ง ๒๔ ชั่วโมง จะพักได้สี่ชั่วโมง คือ ตั้งแต่ ๔ ทุ่ม ถึง ตี ๒ ก็จะดี

+ ส่วนกลางวันจะพักเท่าใดจึงจะเหมาะ

-ในสมัยนั้นผมไม่ได้นอนกลางวันจะป่วยหรือไม่ป่วยก็ตาม ผมไม่นอนเด็ดขาด ผมเอาเฉพาะกลางคืนแค่ ๔ ชั่วโมงพอแล้ว แถมบางคืนผมก็ไม่ได้นอนเอาเสียด้วย เพราะสุขภาพของผมดี และก็มีสมาธิ มีส่วนช่วยผมอยู่....

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

นิรันดร์

โลกเรานี้ หมุนเวียน ผันเปลี่ยนแปลง ทุกหนแห่ง ห่างหาย สลายสูญ

เคยรุ่งเรือง กลับเหลือ เพียงซากปูน ให้อาดูร สูญสิ้น ไปตามกาล

โลกนี้หนอ พอเกิด ก็ทุกขัง ไม่จีรัง ยั่งยืน คืนสังขาร

มาเช่นไร ไปเช่นนั้น มันไม่นาน แม้เพียงวัน ผันผ่าน พาลจากไกล

โลกนี้นั้น คืนวัน ดั่งความฝัน โลดแล่นไป คล้ายกัน พลันสลาย

คืนเป็นดิน ไฟน้ำ ละลมตาย เป็นจุดหมาย ตั้งไว้ ในโลกา

จิตดวงใส ซ่อนไว้ ให้ฉงน ล้วนสับสน กลิ้งกลอก หลอกตัณหา

เดี๋ยวไปโน่น โผ่นี่ อนิจจา โลกนี้หนา รู้ได้ เพราะใจเรา

บางครั้งสุข สร้างสรรค์ ฝันสดใส บางครั้งใจ หักเห ด้วยเล่ห์เขลา

ใจดวงเดิม เติมแต่ง แหล่งมัวเมา ใจของเรา ล้วนเป็น เช่นนี้นา

อายตนะ ช่องว่าง ทางมาสู่ กำหนดรู้ ละวาง ว่างแล้วหนา

ไม่ปรุงแต่ง ต่อเติม เพิ่มโรคา จิตหรรษา ห่างทุกข์ พบสุขใจ

ใจนี้หนอ พอดี ก็มีสุข พอไม่ทุกข์ ปิติ มิรู้หาย

โมหะจิต โลภะตาม นำทางไป ล้วนอยู่ใน วังวน ทนเหมือนเดิม

ใจเป็นกลาง ไม่สุข ไม่ทุกข์นี่ เป็นทางดี ถูกต้อง มองมาเสริม

ใจจะตั้ง ดำรงมั่น หมั่นต่อเติม เป็นบทเริ่ม เกาะกลาง ทางอำไพ

ศีลรักษา กายวาจา ใจให้พร้อม ตั้งใจน้อม สมาธิ จิตผ่องใส

พิจารณา ด้วยปัญญา นำพาไป พบต้นเหตุ แห่งภัย ในชีวิน

อวิชชา ก่อเกิด กำเนิดต่อ มิหย่นย่อ เวียนว่าย ในชลสินธุ์

ทะเลทุกข์ เกิดดับ ลับสู่ดิน เป็นเช่นนี้ มิมีสิ้น ทุกภพไป

พบตัณหา ละไป ให้สิ้นซาก หมั่นคอยถาก ถางสิ่ง สิงทั้งหลาย

กำหนดจิต ตั้งตน ทั้งใจกาย ดำรงไว้ ดิ่งลง ตรงปัจจุบัน

อดีตเอย ผ่านมา อย่าไปคิด ละดวงจิต กำหนดทาง อย่างสร้างสรรค์

สุนัขอ้วก กลืนกลับ รับรู้ทัน เอาอย่างนั้น พลันเปลี่ยน เลียนแบบตาม

อนาคต พรุ่งนี้ หรือวันไหน มีเมื่อไหร่ อาจตาย ใจหวาบหวาม

หากวันนี้ หมดลม คงไม่งาม มีรูปนาม แค่วันนี้ ที่ปัจจุบัน

รู้บ้างใหม ใจเรา ทำไมทุกข์ รู้กันใหม ใจสุข ดั่งสวรรค์

รู้ใช่ใหม มีเหตุ มาเหมือนกัน แล้วรู้ทัน มันบ้างใหม ใจของเรา

อริยสัจ เริ่มจาก เจ้าทุกขัง เป็นเหมือนดั่ง ยอดกรรม ทำให้เฉา

สมุทัย ต้นเหตุ แห่งทุกข์เรา นิโรธเหล่า หนทาง สู่มรรคา

เมื่อเกิดทุกข์ กำหนดรู้ ดูให้แจ้ง มาจากแห่ง กิเลส แลตัณหา

ละให้สิ้น มิยินดี ไม่ปรีดา อุปาทาน อวิชชา พาเวียนวน

โลกธรรม ทั้งแปด สุขทุกข์ไง ยศลาภได้ เสื่อมไป ไม่สับสน

สรรเสริญเล่า เหล่านินทา อย่าหลงกล ล้วนเป็นผล ธรรมดา อย่าคล้อยตาม

เมื่อยามพราก จากกัน มันทุกข์นัก เมื่อไม่หัก ใจคิด พิษคมหนาม

ย่อมบาดลึก นึกดู รู้ทุกยาม นั่นแหละรูป แลนาม ถามใจตน

จิตดวงนี้ ไม่มี แม้แต่ตัว จิตดวงนี้ อย่ากลัว มัวสับสน

จิตดวงนี้ มีไว้ ให้รู้ยล เรียนรู้เหตุ แลผล กลอุบาย

จิตดวงนั้น วันวาน ยังหวานนัก จิตดวงนั้น กลับหัก รับไม่ได้

จิตดวงนั้น ผันเปลี่ยน เพียรรู้ไป จิตดวงเดิม ใช่ใหม ถามใจดู

จิตดวงเดียว เมื่อตอน เจ้านอนเบาะ จิตดวงเดียว เที่ยวเสาะ แสวงรู้

จิตดวงเดียว เลี้ยวลด คดดั่งงู จิตดวงเดียว ของผู้ ไม่รู้เลย

โอ้จิตจ๋า มานี่ มาหาฉัน มารวมกัน ตรงกลาง กระหม่อมเอ๋ย

มาสงบ นิ่งรู้ อยู่อย่างเคย มาเถิดเอ๋ย มาเถอะมา อย่าหนีไกล

เมื่อลมโชย พัดมา กายาชื่น ยามค่ำคืน น้ำค้าง พร่างพราวสาย

จิตดวงน้อย เคลื่อนคล้อย ลอยตามไป กำหนดใจ รู้ตื่น ค่อนคืนคลาย

แสงอรุณ ริบหรี่ สุรีย์ส่อง จิตก็ล่อง เลื่อนลอย พลอยไสว

มิอาจหลง ลืมเลือน เพื่อนยามไกล แต่อย่าหมาย นำใจ ไปเคลื่อนตาม

ในวันนี้ มีเพียง แต่เสียงนก ร้าวในอก ผกผัน หวั่นเสี้ยนหนาม

กิเลสร้าย ตำใจ ให้เศร้าตาม กำหนดนาม รูปดู รู้แก่ใจ

โอ้ผ่านวัน ผ่านคืน ยืนโดดเดี่ยว มิลดเลี้ยว หลักเอน เป็นไฉน

เพียงวันนี้ มีค่า อย่าปล่อยใจ เร่งเพียรไว้ ให้รู้เห็น เวรและกรรม

เราเกิดมา ทำไม ใจจงตอบ จิตไม่ชอบ ตอบไม่ได้ ใจถลำ

เกิดเป็นคน ทนทุกข์ สุขประจำ ใจเจ้ากำ ตอบไม่ได้ อายตัวตน

เกิดเป็นคน ครบถ้วน ด้วยขันธ์ห้า รูปเวทนา สัญญา หาแห่งหน

ปรุงแต่งเติม สังขาร อันน่ายล จิตสับสน สื่อวิญญาณ อันนั้นไง